ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมมานูเอล คานต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox_Philosopher |
{{Infobox_Philosopher
| region = ปรัชญาตะวันตก
<!-- Scroll down to edit this page -->
<!-- Philosopher Category -->
region = ปรัชญาตะวันตก
| era = [[ปรัชญาศตวรรษที่ 18]]
| era = [[ปรัชญาศตวรรษที่ 18]]
| color = #B0C4DE |
| color = #B0C4DE
| image_name = Immanuel Kant (painted portrait).jpg

| image_caption = อิมมานูเอล คานต์ในวัยกลางคน
<!-- Image and Caption -->
|name = อิมมานูเอล คานต์
image_name = Immanuel Kant (painted portrait).jpg
| birth = [[22 เมษายน]], [[พ.ศ. 2267]] ([[เคอนิชส์แบร์ค]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]) (ปัจจุปันคือ [[คาลีนินกราด]], [[ประเทศรัสเซีย]])
| image_caption = อิมมานูเอล คานต์ในวัยกลางคน |
| death = [[12 กุมภาพันธ์]], [[พ.ศ. 2347]] ([[เคอนิชส์แบร์ค]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]])

<!-- Information -->
name = อิมมานูเอล คานต์
| birth = [[22 เมษายน]], [[พ.ศ. 2267]] ([[Königsberg]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]) (Now [[Kaliningrad]], [[รัสเซีย]])
| death = [[12 กุมภาพันธ์]], [[พ.ศ. 2347]] ([[Königsberg]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]])
| school_tradition = Kantianism, [[Age of Enlightenment|ยุคแสงสว่างแห่งปัญญา]] ปรัชญา
| school_tradition = Kantianism, [[Age of Enlightenment|ยุคแสงสว่างแห่งปัญญา]] ปรัชญา
| main_interests = [[ญาณวิทยา]], [[อภิปรัชญา]], [[จริยศาสตร์]]
| main_interests = [[ญาณวิทยา]], [[อภิปรัชญา]], [[จริยศาสตร์]]
| influences = [[Christian Wolff (philosopher)|Wolff]], [[Johannes Nikolaus Tetens|Tetens]], [[Francis Hutcheson (philosopher)|Hutcheson]], [[Sextus Empiricus|Empiricus]], [[Michel de Montaigne|Montaigne]], [[เดวิด ฮูม|ฮูม]], [[เรอเน เดส์การตส์|เดส์การตส์]], [[Nicolas Malebranche|Malebranche]], [[กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]], [[บารุค สปิโนซา|สปิโนซา]], [[จอห์น ล็อก|ล็อก]], [[จอร์จ บาร์กลีย์|บาร์กลีย์]], [[Jean-Jacques Rousseau|Rousseau]], [[ไอแซก นิวตัน|นิวตัน]], [[Emanuel Swedenborg]]
| influences = [[Christian Wolff (philosopher)|Wolff]], [[Johannes Nikolaus Tetens|Tetens]], [[Francis Hutcheson (philosopher)|Hutcheson]], [[Sextus Empiricus|Empiricus]], [[Michel de Montaigne|Montaigne]], [[เดวิด ฮูม|ฮูม]], [[เรอเน เดส์การตส์|เดส์การตส์]], [[Nicolas Malebranche|Malebranche]], [[กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]], [[บารุค สปิโนซา|สปิโนซา]], [[จอห์น ล็อก|ล็อก]], [[จอร์จ บาร์กลีย์|บาร์กลีย์]], [[Jean-Jacques Rousseau|Rousseau]], [[ไอแซก นิวตัน|นิวตัน]], [[Emanuel Swedenborg]]
| influenced = [[Johann Fichte|Fichte]], [[Friedrich Schelling|Schelling]], [[เกออร์ค วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]], [[Arthur Schopenhauer|Schopenhauer]], [[Friedrich Nietzsche|Nietzsche]], [[Charles Peirce|Peirce]], [[เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล|ฮุสเซิร์ล]], [[มาร์ติน ไฮเดกเกอร์|ไฮเดกเกอร์]], [[ลุดวิจ วิทท์เกนชไตน์|วิทท์เกนชไตน์]], [[ฌอง ปอล ซาร์ต|ซาร์ต]], [[Ernst Cassirer|Cassirer]], [[Jürgen Habermas|Habermas]], [[John Rawls|Rawls]], and many more
| influenced = [[Johann Fichte|Fichte]], [[Friedrich Schelling|Schelling]], [[เกออร์ค วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]], [[Arthur Schopenhauer|Schopenhauer]], [[Friedrich Nietzsche|Nietzsche]], [[Charles Peirce|Peirce]], [[เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล|ฮุสเซิร์ล]], [[มาร์ติน ไฮเดกเกอร์|ไฮเดกเกอร์]], [[ลุดวิจ วิทท์เกนชไตน์|วิทท์เกนชไตน์]], [[ฌอง ปอล ซาร์ต|ซาร์ต]], [[Ernst Cassirer|Cassirer]], [[Jürgen Habermas|Habermas]], [[John Rawls|Rawls]], and many more

| notable_ideas = [[Categorical imperative]], [[Transcendental Idealism]], [[Synthetic proposition|Synthetic a priori]], [[Noumenon]], [[Sapere aude]]
| notable_ideas = [[Categorical imperative]], [[Transcendental Idealism]], [[Synthetic proposition|Synthetic a priori]], [[Noumenon]], [[Sapere aude]]
| signature = Immanuel Kant signature.svg
| signature = Immanuel Kant signature.svg
บรรทัด 33: บรรทัด 26:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เกร็ดประวัติชีวิตที่น่าสนใจของ[[นักปรัชญา]]ผู้นี้คือคานต์ เกิดและตายที่เมือง[[เคอนิจส์แบร์ก]] (Konigsberg) ทางตะวันออกของ[[ปรัสเซีย]] และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]]ใน[[มหาวิทยาลัยเคอนิจส์แบร์ก]]ที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดยทางจดหมาย หลัก[[ศีลธรรม]]ของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย เขาครองโสดตลอดชีวิต มีความเป็นอยู่อย่างสมถะ และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้านเวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคำกล่าวว่า หากเห็นคานต์ออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนำเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้
เกร็ดประวัติชีวิตที่น่าสนใจของ[[นักปรัชญา]]ผู้นี้คือคานต์ เกิดและตายที่เมือง[[เคอนิชส์แบร์ค]] (Konigsberg) ทางตะวันออกของ[[ปรัสเซีย]] และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]]ใน[[มหาวิทยาลัยเคอนิจส์แบร์ก]]ที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดยทางจดหมาย หลัก[[ศีลธรรม]]ของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย เขาครองโสดตลอดชีวิต มีความเป็นอยู่อย่างสมถะ และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้านเวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคำกล่าวว่า หากเห็นคานต์ออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนำเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้


'''อิมมานูเอล คานต์''' มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ]] [[สมัยอยุธยา]] และรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] [[สมัยรัตนโกสินทร์]] คานต์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี
'''อิมมานูเอล คานต์''' มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ]] [[สมัยอยุธยา]] และรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] [[สมัยรัตนโกสินทร์]] คานต์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:35, 5 ตุลาคม 2561

อิมมานูเอล คานต์
เกิด22 เมษายน, พ.ศ. 2267 (เคอนิชส์แบร์ค, ราชอาณาจักรปรัสเซีย) (ปัจจุปันคือ คาลีนินกราด, ประเทศรัสเซีย)
เสียชีวิต12 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2347 (เคอนิชส์แบร์ค, ราชอาณาจักรปรัสเซีย)
ยุคปรัชญาศตวรรษที่ 18
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักKantianism, ยุคแสงสว่างแห่งปัญญา ปรัชญา
ความสนใจหลัก
ญาณวิทยา, อภิปรัชญา, จริยศาสตร์
แนวคิดเด่น
Categorical imperative, Transcendental Idealism, Synthetic a priori, Noumenon, Sapere aude
ลายมือชื่อ
อิมมานูเอล คานต์

อิมมานูเอล คานต์[1] (เยอรมัน: Immanuel Kant; 22 เมษายน ค.ศ. พ.ศ. 2267 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2347) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมัน จากแคว้นปรัสเซีย ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของยุโรป และเป็นนักปรัชญาคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคแสงสว่าง เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสายโรแมนติกและสายจิตนิยม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานของเขาเป็นจุดเริ่มของเฮเกิล

คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่าจิตนิยมอุตรวิสัย (transcendental idealism) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (innate idea) ในการรับรู้ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น

ญาณวิทยา (epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ของคานต์นั้น เกิดขึ้นเพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างปรัชญาสายเหตุผลนิยมที่กล่าวว่า ความรู้สามารถสร้างขึ้นได้ไม่จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ กับปรัชญาสายประสบการณ์นิยมที่กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารู้มีที่มาจากประสบการณ์ คานต์ได้เชื่อมแนวคิดที่ขัดแย้งกันทั้งสอง ดังคำกล่าวที่เขาเองเปรียบเปรยว่าเป็นการปฏิวัติแบบโคเปอร์นิคัส (Copernical Revolution) โดยสรุปคร่าว ๆ ได้เป็นประโยคขึ้นต้นของหนังสือ บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล (Critique of Pure Reason) ว่า "แม้ว่าความรู้ทั้งหมดที่เรามีจะมีจุดเริ่มต้นจากประสบการณ์ แต่นั่นมิได้หมายความว่าความรู้ทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์"

ใน Critique of Pure Reason ยังได้นำเสนอเนื้อหาของหลักทางศีลธรรม (จริยศาสตร์) ที่ยังคงมีอิทธิพลต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นบิดาแห่งแนวคิดเรื่องสหประชาชาติ ดังที่ปรากฏในความเรียงว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงคราม กระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน

ประวัติ

เกร็ดประวัติชีวิตที่น่าสนใจของนักปรัชญาผู้นี้คือคานต์ เกิดและตายที่เมืองเคอนิชส์แบร์ค (Konigsberg) ทางตะวันออกของปรัสเซีย และดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยเคอนิจส์แบร์กที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดยทางจดหมาย หลักศีลธรรมของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย เขาครองโสดตลอดชีวิต มีความเป็นอยู่อย่างสมถะ และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้านเวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคำกล่าวว่า หากเห็นคานต์ออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนำเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้

อิมมานูเอล คานต์ มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ สมัยอยุธยา และรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมัยรัตนโกสินทร์ คานต์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 164

ดูเพิ่ม