จริยธรรม
(เปลี่ยนทางจาก จริยศาสตร์)
บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน
ส่วนหนึ่งของ |
ปรัชญา |
---|
นักปรัชญา |
ประเพณี |
ช่วงเวลา |
วรรณกรรม |
สาขา |
รายชื่อ |
อื่น ๆ |
![]() |
จริยธรรม (อังกฤษ: Ethics) หรือ ปรัชญาคุณธรรม(moral philosophy) เป็นสาขาหนึ่ง[1] ของปรัชญาที่ "ประกอบด้วยการจัดระบบ, ปกป้อง และแนะนำแนวคิดของการกระทำที่ถูกหรือผิด"[2] ในมุมมองของจริยศาสตร์ ควบคู่ไปกับสุนทรียศาสตร์ ศึกษาและอยู่กับประเด็นของคุณค่า (value) จึงรวมกันเกิดเป็นสาขาการศึกษาใหม่ที่เรียกว่า สมุฏฐานวิทยาทางปรัชญา[3]
สามสาขาหลักที่ได้รับการยอมรับในจริยศาสตร์ในปัจจุบันได้แก่:[2]
- อภิจริยศาสตร์ (Meta-ethics) ศึกษาเกี่ยวกับความหมายเชิงทฤษฎีและการอ้างถึงการวางตัวทางศีลธรรม และการนิยามคุณค่าของสัจจะนั้นจะทำได้อย่างไร
- จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน (Normative ethics) ศึกษาเกี่ยวกับมุมมองเชิงปฏิบัติของการประเมินการกระทำที่ทำไปเพื่อเป้าหมายทางจริยธรรม
- จริยศาสตร์ประยุกต์ (Applied ethics) ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่บุคคลหนึ่ง ๆ ทำด้วยเป็นภาระหน้าที่ (หรือได้รับอนุญาต) ทำในสถานการณ์เฉพาะหรือในชุดการกระทำเฉพาะหนึ่ง[2]