ข้ามไปเนื้อหา

มีแชล ฟูโก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก มิเชล ฟูโกต์)
Michel Foucault (1974)
มีแชล ฟูโก
เกิด15 ตุลาคม ค.ศ. 1926
ปัวตีเย, ฝรั่งเศส
เสียชีวิต25 มิถุนายน ค.ศ. 1984(1984-06-25) (57 ปี)
ปารีส, ฝรั่งเศส
ยุคปรัชญาคริสต์ศตวรรษที่ 20
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักปรัชญาภาคพื้นทวีป, โครงสร้างนิยม, หลังโครงสร้างนิยม
ความสนใจหลัก
ประวัติศาสตร์ความคิด (history of ideas), ญาณวิทยา, จริยศาสตร์, ปรัชญาการเมือง
แนวคิดเด่น
"โบราณคดี", "วงศาวิทยา", "episteme", "ชีวอำนาจ", "governmentality", "disciplinary institution", panopticism

มีแชล ฟูโก (ฝรั่งเศส: Michel Foucault, ออกเสียง: [miʃɛl fuko]; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984) เป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ความคิด นักทฤษฎีสังคม นักนิรุกติศาสตร์ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศส เคยดำรงตำแหน่ง "ศาสตราจารย์ทางประวัติศาสตร์ของระบบความคิด" (Professor of the History of Systems of Thought)[1] ที่วิทยาลัยฝรั่งเศส (Collège de France) และเคยสอนที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา

ในฐานะนักทฤษฎีสังคม ฟูโกให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับความรู้ รวมถึงวิธีการที่สถาบันทางสังคมต่างๆ ใช้อำนาจและความรู้เป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้คนในสังคม ฟูโกมักถูกมองว่าเป็นตัวแทนของญาณวิทยาแบบหลังโครงสร้างนิยมและเป็นตัวแทนของนักคิดยุคหลังสมัยใหม่ แต่ตัวเขาเองปฏิเสธเรื่องนี้มาโดยตลอด ฟูโกเลือกจะอธิบายว่าความคิดของเขาเป็นประวัติศาสตร์เชิงวิพากษ์ต่อความเป็นสมัยใหม่มากกว่า ความคิดของฟูโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งทั้งในทางวิชาการและในทางการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่น ในขบวนการหลังอนาธิปไตย

ผลงานที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย

[แก้]
  1. "ว่าด้วยการปกครอง," แปลโดย ธเนศ วงศ์ยานนาวา จุลสารไทยคดีศึกษา 4,2 (ธันวาคม 2529): 96-103.
  2. ร่างกายใต้บงการ แปลโดย ทองกร โภคธรรม (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2554)

งานเขียนที่เกี่ยวข้องในภาษาไทย

[แก้]
  1. กัตติง, แกรี, ฟูโกต์ ฉบับพกพา, แปลโดย สายพิณ ศุพุทธมงคล (กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์, 2558).
  2. ธงชัย วินิจจะกูล, วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา (Geneanology). มปท: มปพ, 2534. (รายงานโครงการวิจัยเสริมหลักสูตร). ปรับปรุงแก้ไขและตีพิมพ์ในชื่อ "วิธีการศึกษาแบบสาแหรกของฟูโกต์," ใน อนุสรณ์ อุณโณ, จันทนี เจริญศรี และสลิสา ยุกตะนันทน์ (บก.), อ่านวิพากษ์ มิเชล ฟูโกต์, น. 126-78. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2558. และอีกครั้งในชื่อ "การศึกษาประวัติศาสตร์แบบสาแหรก: วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ของฟูโกต์," ใน ธงชัย วินิจจะกูล, ออกนอกขนบประวัติศาสตร์ไทย: ว่าด้วยประวัติศาสตร์นอกขนบและวิธีวิทยาทางเลือก, น. 157-90 (กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2562).
  3. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "อ่านงานฟูโก้," วารสารธรรมศาสตร์ 14,3 (กันยายน 2528): 36-57.
  4. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "มิเชล ฟูโกต์: ปัญญาชน ความจริงและอำนาจ," วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 5,1-2 (ตุลาคม 2528-มีนาคม 2529): 142-154.
  5. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "บทส่งท้าย ตรรกะของการกดบังคับ ฟูโก้และเฟมินิส," รัฐศาสตร์สาร 12,13 (เมษายน 2529-2530): 166-178.
  6. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "มิเชล ฟูโก้และอนุรักษนิยมใหม่," วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 6,3-4 (ตุลาคม 2531): 16-37.
  7. สุมาลี บำรุงสุข, "มิเชล ฟูโกและประวัติศาสตร์," จุลสารไทยคดีศึกษา 10,2 (พฤศจิกายน 2536-มกราคม 2537): 7-10.
  8. สายพิณ ศุพุทธมงคล, คุกกับคน : อำนาจและการต่อต้านขัดขืน (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543).
  9. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, "Michel Foucault กับรัฐเสรีนิยมใหม่: วินัย/วิชา และสภาวะปกติ/สภาวะที่ผิดปกติ," ดำรงวิชาการ 3, 5 (มกราคม-มิถุนายน 2547): 271-290.
  10. ธเนศ วงศ์ยานนาวา, การสร้าง "ซับเจค": บทวิพากษ์ Foucault และการวิเคราะห์ "ซับเจค" จากภาพ Las Meninas (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548).
  11. ตามไท ดิลกวิทยรัตน์, "ทฤษฎีการเขียนประวัติศาสตร์ของเฮย์เดน ไวท์," วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 6,1 (มกราคม-มิถุนายน 2562): 129-166.
  12. อานันท์ กาญจนพันธุ์, คิดอย่างมิเชล ฟูโกต์ คิดอย่างวิพากษ์: จากวาทกรรมของอัตบุคคล ถึงจุดเปลี่ยนของอัตตา (เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552).
  13. ธีรยุทธ บุญมี, มิเชล ฟูโกต์ = Michel Foucault (กรุงเทพฯ : วิภาษา, 2551).
  14. ดุษฎี วรธรรมดุษฎี, "บทนำสู่ความปรกติ/ไม่ปรกติ หรือ ABNORMALIZATION," รัฐศาสตร์สาร 30,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2552): 216-236.
  15. ดุษฎี วรธรรมดุษฎี, "Governmentality: บทแนะนำเบื้องต้น," วารสารธรรมศาสตร์ 29,1 (มกราคม-มิถุนายน 2553): 106-117.
  16. อนุสรณ์ อุณโณ และคณะ (บรรณาธิการ), อ่านวิพากษ์ มิเชล ฟูโกต์ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม ร่วมกับคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558).

ผลงานที่ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ

[แก้]
  1. Archaeology of knowledge translated by Alan Sheridan (London: Routledge, 1972)
  2. The birth of the clinic : an archaeology of medical perception translated by Alan Sheridan (London: Routledge, 1973).
  3. The order of things; an archaeology of the human sciences (New York: Vintage Books 1973).
  4. Discipline and punish : the birth of the prison translated by Alan Sheridan (New York: Pantheon Books, 1977).
  5. The history of sexuality translated by Robert Hurley (New York: Vintage Books, 1978-1986).
  6. Power/knowledge : selected interviews and other writings, 1972-1977 translated by Colin Gordon (London: Harvester Press, 1980).
  7. The archaeology of knowledge ; and, The discourse on language translated by Alan Sheridan (New York: Pantheon Books, 1982).
  8. Madness and civilization : a history of insanity in the age of reason translated by Richard Howard (New York: Vintage Books, 1988).
  9. Politics, philosophy, culture : interviews and other writings, 1977-1984 translated by Alan Sheridan and others (New York: Routledge, 1988).
  10. Dream and existence with Ludwig Binswanger, edited by Keith Hoeller (Atlantic Highlands, N.J.: Humanities Press, 1993).
  11. Ethics: subjectivity and truth edited by Paul Rabinow, translated by Robert Hurley and others (New York: New Press, 1997).
  12. Aesthetics, method, and epistemology edited by James D. Faubion, translated by Robert Hurley and others (New York: New Press, 1998).
  13. Power edited by James D. Faubion, translated by Robert Hurley and others(New York: New Press, 2000).
  14. Abnormal : lectures at the Coll่ge de France, 1974-1975 edited by Valerio Marchetti and Antonella Salomoni, translated by Graham Burchell (New York: Picador, 2003).
  15. Society must be defended : lectures at the College de France, 1975-76 translated by David Macey (London, England: Allen Lane, 2003).
  16. The hermeneutics of the subject : lectures at the College de France, 1981-1982 edited by Frederic Gros, translated by Graham Burchell (New York, N.Y.: Palgrave Macmillan, 2005).
  17. Psychiatric power : lectures at the College de France, 1973-74 edited by Jacques Lagrange, translated by Graham Burchell (Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2006).
  18. The politics of truth edited by Sylvere Lotringer, translated by Lysa Hochroth & Catherine Porter (Los Angeles, Calif.: Semiotext(e), 2007)
  19. Security, territory, population : lectures at the Coll่ge de France, 1977-78 edited by Michel Senellart, translated by Graham Burchell (Houndmills, Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2007).
  20. The birth of biopolitics : lectures at the College de France, 1978-79 edited by Michel Senellart, translated by Graham Burchell (Houndmills, Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2008).
  21. Introduction to Kant's Anthropology translated by Roberto Nigro and Kate Briggs (Los Angeles: Semiotext(e), 2008).
  22. The government of self and others : lectures at the College de France, 1982-1983 edited by Frederic Gros, translated by Graham Burchell (New York: Picador/Palgrave Macmillan, 2011).
  23. Speech begins after death in conversation with Claude Bonnefoy, edited by Philippe Artieres, translated by Robert Bononno (Minneapolis: University of Minnesota Press, 2013).

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ไซต์ทั่วไป (ปรับเนื้อหาเป็นประจำ)
ชีวประวัติ
บรรณานุกรม
วารสาร
  • Foucault Studies—วารสารนานาชาติในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับการอ้างอิง
[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]]
ชื่อ Foucault, Michel}
ชื่ออื่น Foucault, Paul-Michel
รายละเอียดโดยย่อ French philosopher
วันเกิด 15 October 1926
สถานที่เกิด Poitiers, France
วันตาย 25 June 1984
สถานที่ตาย Paris, France

อ้างอิง

[แก้]
  1. Foreword in Michel Foucault,The Birth of Biopolitics, Palgrave Macmillan, 2008, Page XIII