ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
กสิณธร ราชโอรส (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
กสิณธร ราชโอรส (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
* '''[[พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์|พระองค์เจ้าชายกิติยากรวรลักษณ์]]''' พระราชโอรสองค์ที่ 12 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 7 ปีจอ ตรงกับวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2417]] ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ต่อมาเป็น''"กรมพระจันทบุรีนฤนาถ"'' ทรงเป็นต้น[[ราชสกุลกิติยากร]]
* '''[[พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์|พระองค์เจ้าชายกิติยากรวรลักษณ์]]''' พระราชโอรสองค์ที่ 12 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 7 ปีจอ ตรงกับวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2417]] ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ต่อมาเป็น''"กรมพระจันทบุรีนฤนาถ"'' ทรงเป็นต้น[[ราชสกุลกิติยากร]]


เจ้าจอมมารดาอ่วมมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เจ็บป่วยเรื่อยมาหลังจากประสูติพระราชโอรส และในที่สุดท่านก็ถึงแก่อนิจจกรรมเมื่อวันที่ [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2434]]
เจ้าจอมมารดาอ่วมมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เจ็บป่วยเรื่อยมาหลังจากประสูติพระราชโอรส และในที่สุดท่านก็ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2434]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:28, 1 กรกฎาคม 2559

เจ้าจอมมารดาอ่วม
ในรัชกาลที่ 5
เกิดอ่วม พิศลยบุตร
10 เมษายน พ.ศ. 2399
เสียชีวิต26 เมษายน พ.ศ. 2434
คู่สมรสพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บุตรพระองค์เจ้าชายกิติยากรวรลักษณ์
บิดามารดาพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร)
ปราง พิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (สกุลเดิม สมบัติศิริ)

เจ้าจอมมารดาอ่วม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่าง กรุงเทพฯ - สิงคโปร์ ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม "สมบัติศิริ") ท่านเกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2399[1]

เมื่อท่านมีอายุได้ 17-18 ปี ขณะนั้นเป็นช่วงต้นรัชกาลที่5 บ้านของท่านอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อกระบวนพยุหยาตราชลมารคผ่านเสด็จครั้งใด เจ้าจอมและน้องชายก็ดูหน้าต่างเพื่อชมพระบารมีเสมอ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นพักตร์รูปร่างหน้าตาของเจ้าจอม จึงทรงรับมาเป็นเจ้าจอมในพระองค์ท่านก็ได้ถวายตัวรับใช้พระเจ้าอยู่หัวนับตั้งแต่นั้นมา

ท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ

เจ้าจอมมารดาอ่วมมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เจ็บป่วยเรื่อยมาหลังจากประสูติพระราชโอรส และในที่สุดท่านก็ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2434

อ้างอิง

  1. เจฟฟี่ ไฟน์สโตน. จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ:พิษณุโลกการพิมพ์. 2532
  • สาระ มีผลกิจ. ราชสำนักฝ่ายในสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส, 2551. 296 หน้า. ISBN 9744516817 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
  • ส.พลายน้อย. พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์, ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2554. 368 หน้า. ISBN 9786167058580