ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประดู่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
'''ประดู่'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 705.</ref><ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์. [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref> หรือ '''ประดู่ป่า''' ({{lang-en|Burma padauk}}) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Pterocarpus macrocarpus'' เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุล ''[[Pterocarpus]]'' วงศ์ [[Leguminosae]]
'''ประดู่'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 705.</ref><ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์. [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref> หรือ '''ประดู่ป่า''' ({{lang-en|Burma padauk}}) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Pterocarpus macrocarpus'' เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุล ''[[Pterocarpus]]'' วงศ์ [[Leguminosae]]


== ถิ่นที่อยู่ ==
ประดู่ชนิดนี้เป็นพรรณไม้พื้นเมืองใน[[อินเดีย]]ตะวันออกเฉียงเหนือ, [[พม่า]], [[ลาว]] และ[[เวียดนาม]]<ref name=ildis>International Legume Database & Information Service: [http://www.ildis.org/LegumeWeb?version~10.01&LegumeWeb&genus~Pterocarpus&species~macrocarpus ''Pterocarpus macrocarpus'']</ref><ref name=danida>Danida Seed Leaflet: [http://www.sl.kvl.dk/upload/pterocarpus_macrocarpus_int.pdf ''Pterocarpus macrocarpus'' (pdf file)]</ref><ref name=iitf>International Institute of Tropical Forestry: [http://www.rngr.net/Publications/ttsm/Folder.2003-07-11.4726/PDF.2004-03-16.0514/file ''Pterocarpus macrocarpus'' (pdf file)]</ref> และเป็นพรรณไม้พื้นบ้านดั้งเดิมของ[[ไทย]]<ref>เดชา ศิริภัทร. [http://www.doctor.or.th/article/detail/1675 "ประดู่ : ตำนานความหอมและบิดาแห่งราชนาวี."]</ref> ในไทยพบตาม[[ป่าเบญจพรรณ]]และ[[ป่าเต็งรัง]]ในทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ([[ประดู่บ้าน]]จะพบในป่าเบญจพรรณทางภาคใต้ด้วย) โดยขึ้นในที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร ส่วนในพม่าพบขึ้นอยู่ตามพื้นที่ราบหรือเนินสูงต่ำ และพบขึ้นในที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 750 เมตร<ref>สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปราจีนบุรี). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. [http://www.dnp.go.th/mfcd3/interesttrees.htm "ต้นไม้ที่น่าสนใจ."]</ref>

== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
* ลำต้นสูง 15-30 เมตร หุ้มด้วยเปลือกหนาสีน้ำตาลซึ่งแตกสะเก็ดเป็นร่อง ลึก มีนํ้ายางมาก เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ กิ่งก้านมักไม่ห้อยระย้าอย่างประดู่บ้าน<ref name=" ดอกประดู่">วรรณดี พลเยี่ยม. [http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=1474 "ดอกประดู่."]</ref>
* ใบเป็นใบประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อยเยื้องสลับกัน 4-10 ใบ รูปไข่ถึงรูปขนาน กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร ปลายเป็นติ่ง โคนมน
* ดอกมีสีเหลือง กลิ่นหอม มีกลิ่นคล้ายดอกซ่อนกลิ่น ออกเป็นช่อยาว 10-20 เซนติเมตร ตามง่ามใบ ดอกจะออกช่วงมีนาคม-พฤษภาคม ช่อดอกมีขนาดใหญ่ แต่ไม่แตกกิ่งก้านแขนงมากอย่างประดู่บ้าน(แต่ดอกจะบานแค่หนึ่งถึงสองวันเท่านั้น) <ref name=" ดอกประดู่"/>
* ผลมีลักษณะเหมือนรูปโล่แบนบาง ตรงกลางนูน เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-10 เซนติเมตร ผลใหญ่กว่าประดู่บ้านมาก และมีขนปกคลุมทั่วไป การขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด

== การใช้ประโยชน์ ==
ประดู่มีเนื้อไม้สีแดงอมเหลือง เสี้ยนสนเป็นริ้ว เนื้อละเอียดปานกลาง มีลวดลายสวยงาม ใช้ทำเสา พื้นต่อเรือ เครื่องเรือน เครื่องดนตรี แก่นสีแดงคล้ำใช้ย้อมผ้า และเปลือกให้น้ำฝาดใช้ฟอกหนัง

ประดู่เป็นพันธุ์ไม้ที่[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำ[[จังหวัดชลบุรี]] เมื่อวันที่ [[9 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2537]] ณ [[ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์]] นอกจากนี้ยังเป็นต้นไม้และดอกไม้ประจำจังหวัดชลบุรีและ[[จังหวัดระยอง]]

== ชื่อเรียกตามท้องถิ่น ==
* '''ดู่''' หรือ '''ดู่ป่า''' (ภาคเหนือ)
** '''ฉะนอง''' (เชียงใหม่)
** '''จิต๊อก''' (ไทใหญ่-แม่ฮ่องสอน)
** '''เตอะเลอ''' (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
* '''ประดู่''' หรือ '''ประดู่ป่า''' (ภาคกลาง)
** '''ประดู่เสน''' (สระบุรี ราชบุรี)

== ดูเพิ่ม ==
* [[ประดู่บ้าน]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.dnp.go.th/EPAC/province_plant/chon.htm ประดู่ป่า โดย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]
* [http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK22/chapter4/t22-4-l2.htm#sect5 ประดู่ป่า จากสารากรมไทยฉบับเยาวชนเล่มที่ 22]
{{จบอ้างอิง}}

{{ต้นไม้พระราชทาน}}
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{อุทยานดอกไม้}}
{{อุทยานดอกไม้}}
[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:01, 5 สิงหาคม 2563

ประดู่
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Fabales
วงศ์: Fabaceae
วงศ์ย่อย: Faboideae
เผ่า: Dalbergieae
สกุล: Pterocarpus
สปีชีส์: P.  macrocarpus
ชื่อทวินาม
Pterocarpus macrocarpus
Kurz
ชื่อพ้อง
  • Lingoum macrocarpum (Kurz) O. Ktze.
  • Lingoum cambodianum Pierre
  • Lingoum glaucinum Pierre
  • Lingoum gracile Pierre
  • Lingoum oblongum Pierre
  • Lingoum parvifolium Pierre
  • Lingoum pedatum Pierre
  • Pterocarpus cambodianus Pierre var. calcicolus Craib

ประดู่[1][2] หรือ ประดู่ป่า (อังกฤษ: Burma padauk) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterocarpus macrocarpus เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในสกุล Pterocarpus วงศ์ Leguminosae

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 705.
  2. เต็ม สมิตินันทน์. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549