ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปลด กิตฺติโสภโณ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สมเด็จพระสังฆราช
{{ใช้คศ|270px}}
|พระนาม = สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ <br>(แพ ติสฺสเทโว)
{{Infobox royalty
|ภาพ = สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)1.jpg
| name = อู่ เจ๋อเทียน
|ฉายา = ติสฺสเทโว
| title =
|succession = [[สมเด็จพระสังฆราชไทย|สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]]
| image = A Tang Dynasty Empress Wu Zetian.JPG{{!}}border
|ดำรงพระยศ = 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 ({{อายุปีและวัน|2481|11|15|2487|11|26}})
| succession2 = [[ฮองไทเฮา]]
|ประสูติ = 12 พฤศจิกายน 2399
| reign-type2 = ระหว่าง
|วันบวช = พ.ศ. 2419
| reign2 = 27 ธันวาคม 683 – 16 ตุลาคม 690
|สิ้นพระชนม์ = 26 พฤศจิกายน 2487
| predecessor2 = [[Empress Dowager Hu (Northern Wei)|จักรพรรดินีหู]]
|พรรษา = 68
| successor2 = [[จักรพรรดินีเหวย์]]
|อายุ = {{อายุปีและวัน|2399|11|22|2487|11|26}}
| succession3 = ฮองเฮา
|สถิต = [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]
| reign3 = 2 ธันวาคม 655 – 27 ธันวาคม 683
|สังกัด = [[มหานิกาย]]
| reign-type3 = ระหว่าง
|สถาปนา = 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481
| predecessor3 = [[จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)|จักรพรรดินีหวัง]]
|สถานที่สถาปนา = [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]
| successor3 = [[จักรพรรดินีเหวย์]]
|ตำแหน่ง = สกลมหาสังฆปริณายก
| father = อู่ ฉี้โหว อ๋องแห่งแคว้นอิ้ง
|ก่อนหน้า = [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]]
| mother = ท่านหญิงหยัง
|ถัดไป = [[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์]]
| spouse = ใน[[จักรพรรดิถังเกาจง]]
| issue = {{Plainlist|
* [[หลี่หง|รัชทายาทหลี่หง]]
* องค์หญิงอันติ้ง
* [[หลี่ เสียน|องค์ชายหลี่ เสียน]]
* [[จักรพรรดิถังจงจง]]
* [[จักรพรรดิถังรุ่ยจง]]
* [[องค์หญิงไท่ผิง]]
}}
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| birth_date = ไม่มีบันทึก
| birth_place =
| death_date = 16 ธันวาคม ค.ศ. 705 (ราว 83 พรรษา)
| death_place = [[ลั่วหยาง]]
| date of burial = ค.ศ. 706
| place of burial =
| full name =
| succession = [[รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ถัง|ฮ่องเต้แห่งราชวงศ์โจว]]
| reign = 16 ตุลาคม 690<ref name=ReignStartDate /><ref>Wu was partially in control of power since approximately 660 and her power was even more paramount after January 665. Her [[Zhou dynasty]] was proclaimed on October 16, 690, and she proclaimed herself Empress Regnant on October 19, demoting her son [[Emperor Ruizong of Tang|Emperor Ruizong]] to the rank of [[crown prince]] with the unusual title of ''Huangsi'' (皇嗣).</ref> – 22 กุมภาพันธ์ 705<ref name="兩千年中西曆轉換" /><ref>She lost power in the palace coup of February 20, 705, and on February 22, she was forced to return imperial authority to her son Li Xian, who was restored as [[Emperor Zhongzong of Tang|Emperor Zhongzong]] on February 23. The Zhou dynasty was terminated with the restoration of the Tang dynasty on March 3.</ref>
| predecessor = [[จักรพรรดิถังรุ่ยจง]] {{small|(ราชวงศ์ถัง)}}
| successor = [[จักรพรรดิถังจงจง]] {{small|(ราชวงศ์ถัง)}}
| house = อู่ (武)
| house-type = สกุล
| dynasty = {{Plainlist|
* [[ราชวงศ์ถัง]] (โดยการเสกสมรส)
* ราชวงศ์โจว (โดยการครองราชย์)
}}
| temple name =ไม่มี<ref>Zhou dynasty was abolished before her death, and she was reverted to the rank of empress consort on her death, so she did not have a temple name, as empresses consort, unlike ruling emperors, were not given temple names.</ref>
| religion = [[มหายาน|พุทธมหายาน]]
}}
}}
'''สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ''' พระนามเดิม '''แพ''' ฉายา '''ติสฺสเทโว''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราชไทย|สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]]พระองค์ที่ 12 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]] ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481<ref name="สังฆราช">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2481/A/669.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระวันรัต ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช], เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑, หน้า ๖๖๙ </ref> ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 ขณะพระชันษาได้ 89 ปี

'''อู่ เจ๋อเทียน''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''บูเช็กเทียน''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน
'''บูเต็กเทียง'''ตามสำเนียงแต้จิ้ว({{zh-all|s=武则天|t=武則天|p=Wǔ Zétiān|w=Wu<sup>3</sup> Tse<sup>2</sup>-t'ien<sup>1</sup>}}; พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624<ref name="birth">ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน [[นวพงศาวดารถัง]] (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน [[พงศาวดารถัง]] (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623</ref><ref>วันเดือนปีที่ระบุไว้ตรงนี้ เป็นไปตาม [[ปฏิทินจูเลียน]] มิใช่ตาม [[ปฏิทินก่อนเกรโกเรียน]]</ref>; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705<ref name="death">[http://www.sinica.edu.tw/ftms-bin/kiwi1/luso.sh?lstype=2&dyna=%AD%F0&king=%A4%A4%A9v&reign=%AF%AB%C0s&yy=1&ycanzi=&mm=11&dd=26&dcanzi= 兩千年中西曆轉換<!-- Bot generated title -->]</ref>)<ref name="Paludan, 100">Paludan, 100</ref> บางทีเรียก '''อู่ เจ้า''' ({{zh-all|c=武曌|p=Wǔ Zhào|w=Wu<sup>3</sup> Chao<sup>4</sup>}}) หรือ '''อู่ โฮ่ว''' ({{zh-all|s=武后|t=武后|p=Wǔ Hòu|w=Wu<sup>3</sup> Hou<sup>4</sup>}}) ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า '''พระนางสวรรค์''' ({{zh-all|c=天后|p=Tiān Hòu}})<ref>See, for example, Beckwith, 130, n. 51</ref> และในสมัยต่อมาว่า '''พระนางอู่''' ({{zh-all|c=武后|p=Wǔ Hòu}}) ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวใน[[ประวัติศาสตร์จีน]]อันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "[[ฮ่องเต้]]"

ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี ค.ศ. 665 ถึง 690 พระนางทรงปกครองจีนโดยพฤตินัย ต่อมาในปี ค.ศ. 690 ถึง 705 พระนางทรงสถาปนาราชวงศ์ของพระนางเอง คือ [[ราชวงศ์โจว]] หรือในประวัติศาสตร์จีนเรียกว่า ราชวงศ์อู่โจว และเฉลิมพระนามพระนางเองว่าเป็น "สมมุติเทวะ" ({{zh-all|c=聖神皇帝|p=เฉิ้งเฉินหวงตี้}})<ref name=":1">Empress of China: Wu Ze Tian, by Jiang, Cheng An, Victory Press 1998</ref> อันเป็นการละเมิดประเพณีแต่โบราณและยังทำให้[[ราชวงศ์ถัง]]สะดุดหยุดลงระยะหนึ่ง นักประวัติศาสตร์ผู้นิยม[[ขงจื๊อ|ลัทธิขงจื๊อ]]จึงประณามพระนางเป็นอย่างมาก

พระนางบูเช็กเทียนทรงมีตำแหน่งสำคัญทั้งในสมัย[[จักรพรรดิถังไท่จง]] ฮ่องเต้องค์ที่ 2 แห่ง[[ราชวงศ์ถัง]] และในสมัย[[จักรพรรดิถังเกาจง|จักรพรรดิถังเกาจง]] ฮ่องเต้องค์ที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์ถัง]] โดยแรกเริ่มทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระสนมของจักรพรรดิไท่จง เมื่อจักรพรรดิไท่จงสวรรคตในเวลาต่อมา พระนางจึงได้อภิเษกสมรสกับจักรพรรดิเกาจงเมื่อปี ค.ศ. 655 และได้รับการขนานพระนามว่า "ฮูหยินเกาจง" ({{zh-all|c=高宗夫人|p=เกาจงฟูเหริน}})

ในปี ค.ศ. 690 หลังจากจักรพรรดิเกาจงสวรรคตก็เกิดการแย่งชิงราชสมบัติเป็นเวลากว่า 7 ปี ในที่สุดพระนางได้ทรงตั้งตนขึ้นเป็นฮ่องเต้หญิงองค์แรกในประวัติศาสตร์จีน รวมถึงประกาศเปลี่ยนราชวงศ์ถังเป็นราชวงศ์โจวตั้งแต่นั้นมา และสวรรคตเมื่อปี ค.ศ. 705<ref name="Paludan, 96">Paludan, 96</ref>

ในช่วงที่พระนางบูเช็กเทียนเป็นผู้นำทั้งด้านการปกครองและการทหาร มีการขยายอำนาจของจีนออกไปเป็นอันมากเกินกว่าอาณาเขตดินแดนเดิมที่เคยมีมา ไปถึงบริเวณทวีปเอเชียกลาง รวมถึงการครอบครองพื้นที่แถบคาบสมุทรเกาหลีเหนือตอนบน ส่วนภายในประเทศจีนเอง แม้จะมีผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการไขว่คว้าเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจของพระนางทั้งในการสู้รบ ปราบปรามกบฏ และลงโทษประหารชีวิต แต่พระนางได้ทรงพัฒนาประเทศโดยการส่งเสริมและเผยแพร่ระบบการสอบจอหงวนเพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตผู้มีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการบริหารประเทศโดยไม่คำนึงถึงชนชั้น<ref name=":0">http://www.womeninworldhistory.com/heroine6.html</ref> ส่งเสริมและยกระดับบทบาทของสตรีเพศโดยเปิดโอกาสให้เข้ารับตำแหน่งราชการในระดับสูง นอกจากนี้พระนางยังให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชนด้วยการลดภาษีอากรที่กดขี่ ส่งเสริมการเกษตรและการสร้างงาน<ref name=":0" /> ทำให้ประเทศจีนในยุคของพระนางมีความเข้มแข็งและพัฒนาด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว

พระนางบูเช็กเทียนทรงส่งเสริมและให้ความสำคัญแก่พระพุทธศาสนามากกว่าลัทธิเต๋าในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ จนจัดให้มีการสร้างวัดและปฏิมากรรมในถ้ำ เช่น [[ถ้ำผาหลงเหมิน]] กล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดในประเทศจีนในช่วงยุคของพระนางนั่นเอง<ref name=":0" />

นอกจากในฐานะผู้นำทางการเมืองพระนางบูเช็กเทียนยังมีชีวิตครอบครัวที่โดดเด่น แม้ว่าในบางครั้งความสัมพันธ์ในครอบครัวจะเป็นปัญหาให้แก่พระนาง ทรงมีพระโอรส 3 พระองค์ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองราชย์บัลลังก์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ และพระนัดดาของพระนางคือ สมเด็จพระ[[จักรพรรดิถังเสวียนจง]] ({{zh-all|c=唐玄宗|p=Táng Xuánzōng}}) แห่ง[[ราชวงศ์ถัง]] กษัตริย์ผู้ปกครองหนึ่งในยุคทองแห่งประวัติศาสตร์จีน<ref>See, e.g., ''Bo Yang Edition of the Zizhi Tongjian'', vol. 51, Preface.</ref>


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:26, 16 กรกฎาคม 2562

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
(แพ ติสฺสเทโว)
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ดำรงพระยศ15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 (6 ปี 11 วัน)
สถาปนา15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481
วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
ก่อนหน้าพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
ถัดไปสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
พรรษา68
สถิตวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
ประสูติ12 พฤศจิกายน 2399
สิ้นพระชนม์26 พฤศจิกายน 2487

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481[1] ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 ขณะพระชันษาได้ 89 ปี

พระประวัติ

พระกำเนิด

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า ปลด เกตุทัต ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2432 ตรงกับแรม 13 ค่ำ เดือน 6 ปีฉลู ณ บ้านในตรอกหลังตลาดพาหุรัด ติดกับวัดราชบุรณราชวรวิหาร[2] เป็นบุตรขุนพิษณุโลกประชานาถ (ล้ำ เกตุทัต) กับนางปลั่ง พระชนกของพระองค์เป็นเจ้ากรมคนแรกในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนพิษณุโลกประชานาถ แต่ด้วยปัญหาสุขภาพจึงได้กราบทูลลาออกก่อนที่จะทรงกรมหลวง

บรรพชา

ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อปี พ.ศ. 2444 ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เริ่มเรียนภาษาบาลีตั้งแต่พระชนมายุ 8 ปี เรียนมูลกัจจายน์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ได้ประโยค 1 ได้รับโปรดเกล้า ฯ จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้อยู่ที่วัดเบญจมบพิตร ต่อมาได้เข้าแปลประโยค 2 และประโยค 3 ได้ สอบได้ประโยค 4 เมื่อพระชันษาได้ 13 ปี ประโยค 5 ถึงประโยค 7 เมื่อพระชันษาได้ 14, 15, 16 ปี ตามลำดับ สอบประโยค 8 ได้เมื่อพระชันษาได้ 19 ปี[3] และประโยค 9 เมื่อพระชันษาได้ 20 ปี[4] ในปี พ.ศ. 2451

อุปสมบท

ทรงอุปสมบทเป็นนาคหลวงสายเปรียญธรรม ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อปี พ.ศ. 2452 สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระธรรมวโรดม (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระธรรมเจดีย์ (เข้ม ธมฺมสโร) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ฉายาว่า "กิตฺติโสภโณ"[5]

ตำแหน่ง

สมณศักดิ์

ธรรมเนียมพระยศของ
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
(ปลด กิตฺติโสภโณ)
สมเด็จพระสังฆราช
ตราประจำพระองค์
การทูลฝ่าพระบาท
การแทนตนเกล้ากระหม่อม/เกล้ากระหม่อมฉัน
การขานรับเกล้ากระหม่อม
พะย่ะค่ะ/เพคะ
  • พ.ศ. 2457 เป็นพระราชาคณะที่ พระศรีวิสุทธิวงษ์[10]
  • พ.ศ. 2466 เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชเวที ตรีปิฎกภูษิต ธรรมบัณฑิต ยติคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี[11]
  • พ.ศ. 2469 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพมุนี ศรีวิสุทธศีลาจารย์ ญาณนายก ตรีปิฎกธรา มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี[12]
  • พ.ศ. 2473 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมโกศาจารย์ สุนทรญาณดิลก ตรีปิฎกธรรมภูษิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[13]
  • พ.ศ. 2482 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองหนกลางที่ พระพรหมมุนี ศรีวิสุทธิญาณนายก ตรีปิฎกธรรมาลังการวิภูษิต มัชฌิมคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี สังฆนายก[14]
  • พ.ศ. 2490 เป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระวันรัต ปริยัติพิพัฒนพงศ์ วิสุทธิสงฆปริณายก ตรีปิฎกโกศล วิมลคัมภีรญาณสุนทร มหาคณะปธานาดิศร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี[15]
  • พ.ศ. 2503 เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปรินายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส ภูมิพลมหาราชอนุศาสนาจารย์ กิตติโสภณาภิธานสังฆวิสุต ปาวจนุตตมโศภน วิมลศีลสมาจารวัตร พุทธศาสนิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ อดุลคัมภีรญาณสุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช[16]

พระกรณียกิจ

พระองค์ทรงกระทำกิจทางพระศาสนามาโดยตลอด ด้วยประการต่าง ๆ เป็นอันมาก ตลอดพระชนมชีพ พอประมวลสรุปได้ดังนี้

สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภณ) เมื่อครั้งยังเป็นสามเณรปลด
  1. ด้านการปกครอง เริ่มตั้งแต่เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส เจ้าคณะแขวง เจ้าคณะมณฑล กรรมการเถรสมาคม ประธานคณะบัญชาการคณะสงฆ์ แทนองค์สมเด็จพระสังฆราช สังฆนายก และรักษาการในตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช
  2. ด้านการศึกษา เริ่มตั้งแต่การศึกษาในสำนักวัดเบญจมบพิตร ฯ การศึกษาในมณฑลพายัพ ทั้ง 7 จังหวัด และแขวงกลางจังหวัดพระนคร เป็นกรรมการสอบพระปริยัติธรรมในสนามหลวง เป็นแม่กองบาลีสนามหลวง เป็นสังฆมนตรีว่าการองค์การศึกษา
  3. ด้านการเผยแผ่ มีหนังสือธรรมที่ทรงนิพนธ์ พิมพ์ออกเผยแผ่ เป็นอันมาก เช่น มงคลภาษิต ปราภวภาษิต ศีลธรรมอันดีของประชาชน รวมทั้งงานพระธรรมเทศนา ในโอกาสต่าง ๆ ที่ได้รับการยอย่องว่า มีสำนวนโวหารง่าย ๆ เป็นที่เข้าใจซาบซึ้ง
  4. ด้านการต่างประเทศ ได้เสด็จไปต่างประเทศเพื่อการพระศาสนาหลายครั้ง คือ
    • พ.ศ. 2482 ไปตรวจการณ์คณะสงฆ์ ไทรบุรี และปีนัง แทนสมเด็จพระสังฆราช
    • พ.ศ. 2498 เป็นหัวหน้าคณะไปร่วมงานฉัฎฐสังคายนาจตุตถสันนิบาต (สมัยไทย) โดยเป็นประธาน กระทำพิธีเปิดประชุมสังคายนา ณ สหภาพพม่า
    • พ.ศ. 2499 เป็นหัวหน้าคณะไปร่วมพิธีฉลอง พุทธชยันตี 25 ศตวรรษแห่งพระพุทธศาสนา ณ ประเทศลังกา และไปสังเกตการพระศาสนาในประเทศอินเดีย
    • พ.ศ. 2501 เป็นหัวหน้าคณะไปเป็นประธานประกอบพิธีบรรจุพระบรมธาตุ ณ วัดบุปผาราม เมืองปีนัง สหพันธรัฐมาลายา
    • พ.ศ. 2502 เป็นหัวหน้าคณะไปร่วมพิธีฉลองพระพุทธชยันตี 25 ศตวรรษแห่งพระพุทธศาสนา ณ ประเทศญี่ปุ่น และในปีเดียวกันนี้ ได้นำพระสงฆ์ไทยไปอยู่ ณ วัดไทยพุทธคยา ประเทศอินเดีย และได้เสด็จไปมนัสการสังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง ที่อินเดีย
    • พ.ศ. 2504 เสด็จไปสังเกตการพระศาสนา ในสหรัฐอเมริกา ตามคำทูลอาราธนาของมูลนิธิเอเซีย

ผลงาน

งานด้านวิชาการและงานพิเศษ มีงานสำคัญคือ

สิ้นพระชนม์

หลังจากเสวยภัตตาหารเพลในงานทำบุญบ้านจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2505 สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ทรงกลับวัด ถึงเวลา 15.00 น. หลังสรงน้ำ ทรงปวดพระเศียรอยางรุนแรง พระอุปฐากเชิญแพทย์มาดูพระอาการ พระองค์ตรัสกับแพทย์ได้ไม่กี่คำก็สิ้นพระชนม์ แพทย์ลงความเห็นว่าเส้นพระโลหิตใหญ่ในพระมัตถลุงค์แตก[17] เมื่อเวลา 16.27 น. สิริพระชันษาได้ 73 ปี 21 วัน สำนักนายกรัฐมนตรีประกาศให้สถานที่ราชการลดธงครึ่งเสา 3 วัน และข้าราชการไว้ทุกข์ 15 วัน เพื่อถวายความอาลัย และได้มีพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส[18]

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระวันรัต ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช, เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑, หน้า ๖๖๙
  2. พระประวัติสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๙ พระองค์, หน้า 195
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี [เรื่อง การสอบไล่พระปริยัติธรรมประจำ ศก ๑๒๖ กับรายนามพระสงฆ์สามเณรที่สอบไล่ได้], เล่ม 25, 12 เมษายน ร.ศ. 127, หน้า 35
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี [เรื่อง รายนามพระภิกษุสามเณรที่สอบไล่พระปริยัติธรรมได้], เล่ม 25, 28 มีนาคม ร.ศ. 127, หน้า 1489
  5. ราชกิจจานุเบกษา, การอุปสมบทสามเณรปลด ปเรียญ ๙ ประโยค, เล่ม ๒๖, ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘, หน้า ๖๒๔
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกรมธรรมการ เรื่อง ตั้งพระคณาจารย์โทในทางบาลี, เล่ม 37, ตอน 0, วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2463, หน้า 2834
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงธรรมการ เรื่อง ตั้งเจ้าคณะมณฑลพายัพ, เล่ม 44, ตอน 0 ง, วันที่ 24 เมษายน 2470, หน้า 259
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมธรรมการ เรื่อง ตั้งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง, เล่ม 45, ตอน 0 ง, วันที่ 4 พฤศจิกายน 2471, หน้า 2300-1
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศตั้งสังฆนายก, เล่ม 68, ตอนที่ 50, วันที่ 31 กรกฎาคม 2494, หน้า 3085-6
  10. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานสัญญาบัตรพระสงฆ์, เล่ม 31, วันที่ 11 พฤศจิกายน 2457, หน้า 1844
  11. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสถาปนาสมณะศักดิ์, เล่ม 40, วันที่ 25 พฤศจิกายน 2466, หน้า 2597
  12. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานสัญญาบัตรสมณศักดิ์, เล่ม 43, วันที่ 26 พฤศจิกายน 2469, หน้า 3047
  13. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานสัญญาบัตรสมณศักดิ์, เล่ม 47, วันที่ 9 พฤศจิกายน 2473, หน้า 2907
  14. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 56, วันที่ 4 มีนาคม 2482, หน้า 3529-3532
  15. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์, ตอนที่ 27, เล่ม 64, วันที่ 17 มิถุนายน 2490, หน้า 430-434
  16. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระสังฆราช, เล่ม ๗๗, ตอน๓๘ ก ฉบับพิเศษ, ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๓, หน้า ๑
  17. พระประวัติสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๙ พระองค์, หน้า 211
  18. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง สมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์, เล่ม 79 ฉบับพิเศษ, ตอนที่ 55, 18 มิถุนายน 2505, หน้า 1
บรรณานุกรม
  • กรมศิลปากร. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 450 หน้า. ISBN 974-417-530-3
  • วัดบวรนิเวศวิหาร. พระประวัติสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๙ พระองค์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อุดมศึกษา, 2552. ISBN 978-974-235-262-2
  • สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 428 หน้า. ISBN 974-417-530-3


ก่อนหน้า สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปลด กิตฺติโสภโณ) ถัดไป
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
ไฟล์:ฉัตรสามชั้น.jpg
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
(พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2505)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อยู่ ญาโณทโย)
พระศาสนโศภน (จวน อุฏฺฐายี)
สังฆนายก
(พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2503)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (จวน อุฏฺฐายี)
พระพรหมมุนี (อ้วน ติสฺโส)
เจ้าคณะรองหนกลาง
(พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2484)
(ตำแหน่งถูกยกเลิกตาม
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484)
สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
(พ.ศ. 2471 - พ.ศ. 2505)
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)