ข้ามไปเนื้อหา

บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 2014
กีฬาบาสเกตบอล
ก่อตั้ง1950
ฤดูกาลแรก1950
จำนวนทีม24
ประเทศสมาชิกฟีบา
ทวีปฟีบา (International)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันUnited States (5th title)
ทีมชนะเลิศสูงสุดสหรัฐอเมริกา & ยูโกสลาเวีย (5 titles)

บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIBA Basketball World Cup) เป็นการแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (ฟีบา) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1950 ใน บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 1950 การแข่งขันครั้งล่าสุดคือทีมชาติสหรัฐอเมริกา ที่ชนะในการแข่งขัน บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 2014

ประวัติ

[แก้]
แผนที่เจ้าภาพบาสเกตบอลชิงแชมป์โลก ฟ้าเข้ม: สอง; ฟ้าอ่อน: หนึ่ง

การคัดเลือก

[แก้]
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด
แผนที่ของจำนวนครั้งที่ทีมเข้ารอบ

การแข่งขันในปัจจุบันได้ขยายเป็น 32 ทีมในปี ค.ศ. 2019


สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ครั้งที่ ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1 1950   อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 64–50
No playoffs[a]
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ธงชาติชิลี ชิลี 51–40
No playoffs[a]
ธงชาติบราซิล บราซิล 10
2 1954   บราซิล ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 62–41
No playoffs[a]
ธงชาติบราซิล บราซิล ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 66–60
No playoffs[a]
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 12
3 1959   ชิลี ธงชาติบราซิล บราซิล 81–67
No playoffs[a]
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ธงชาติชิลี ชิลี 86–85
No playoffs[a]
ธงชาติไต้หวัน Formosa 13
4 1963   บราซิล ธงชาติบราซิล บราซิล 90–71
No playoffs[a]
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 75–74
No playoffs[a]
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 13
5 1967   อุรุกวัย ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 71–59
No playoffs[a]
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติบราซิล บราซิล 80–71
No playoffs[a]
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 13
6 1970   ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 80–55
No playoffs[a]
ธงชาติบราซิล บราซิล ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 62–58
No playoffs[a]
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 13
7 1974   ปวยร์โตรีโก ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 79–82
No playoffs[a]
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 83–70
No playoffs[a]
ธงชาติคิวบา คิวบา 14
8 1978   ฟิลิปปินส์ ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 82–81 (OT)
Araneta Coliseum, Quezon City
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติบราซิล บราซิล 86–85
Araneta Coliseum, Quezon City
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 14
9 1982   โคลอมเบีย ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 95–94
Coliseo El Pueblo, Cali
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 119–117
Coliseo El Pueblo, Cali
ธงชาติสเปน สเปน 13
10 1986   สเปน ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 87–85
Palacio de Deportes, Madrid
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 117–91
Palacio de Deportes, Madrid
ธงชาติบราซิล บราซิล 24
11 1990   อาร์เจนตินา ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 92–75
Estadio Luna Park, Buenos Aires
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 107–105 (OT)
Estadio Luna Park, Buenos Aires
ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 16
12 1994   แคนาดา ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 137–91
SkyDome, Toronto
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 78–60
SkyDome, Toronto
ธงชาติกรีซ กรีซ 16
13 1998   กรีซ สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
FR Yugoslavia
64–62
Olympic Indoor Hall, Athens
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 84–61
Olympic Indoor Hall, Athens
ธงชาติกรีซ กรีซ 16
14 2002   สหรัฐอเมริกา สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
FR Yugoslavia
84–77 (OT)
Conseco Fieldhouse, Indianapolis
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 117–94
Conseco Fieldhouse, Indianapolis
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 16
15 2006   ญี่ปุ่น ธงชาติสเปน สเปน 70–47
Saitama Super Arena, Saitama
ธงชาติกรีซ กรีซ ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 96–81
Saitama Super Arena, Saitama
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 24
16 2010   ตุรกี ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 81–64
Sinan Erdem Dome, Istanbul
ธงชาติตุรกี ตุรกี ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 99–88
Sinan Erdem Dome, Istanbul
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 24
17 2014   สเปน ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 129–92
Palacio de Deportes, Madrid
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 95–93
Palacio de Deportes, Madrid
ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 24
18 2019   จีน ธงชาติสเปน สเปน 95–75
Wukesong Arena, Beijing
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 67–59
Wukesong Arena, Beijing
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 32
19 2023   ฟิลิปปินส์
  ญี่ปุ่น
  อินโดนีเซีย
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 83–77
Mall of Asia Arena, Pasay
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย ธงชาติแคนาดา แคนาดา 127–118 (OT)
Mall of Asia Arena, Pasay
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 32
20 2027   กาตาร์ Future event
TBA, Doha
Future event
TBA, Doha
32

(OT): การแข่งขันที่ตัดสินหลังจากต่อเวลาพิเศษ

ตารางสรุปเหรียญรางวัล

[แก้]
ที่มา: FIBA archive[1]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา53412
2สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย/สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย Yugoslavia53210
3ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต3328
4ธงชาติบราซิล บราซิล2226
5ธงชาติสเปน สเปน2002
6ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา1203
7ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1012
8ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย0202
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย0202
10ธงชาติกรีซ กรีซ0101
ธงชาติตุรกี ตุรกี0101
12ธงชาติชิลี ชิลี0022
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0022
14ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์0011
ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย0011
ธงชาติแคนาดา แคนาดา0011
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย0011
รวม (17 ประเทศ)19191957

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Medal Count: FIBA World Championship". FIBA.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 September 2013. สืบค้นเมื่อ 15 October 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน