ข้ามไปเนื้อหา

บาสเกตบอลรอบคัดเลือกโอลิมปิกระดับโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก FIBA World Olympic Qualifying Tournament)

การแข่งขันบาสเกตบอลรอบคัดเลือกโอลิมปิกระดับโลก (อังกฤษ: FIBA World Olympic Qualifying Tournament) เดิมชื่อ บาสเกตบอลพรีโอลิมปิก (อังกฤษ: FIBA Pre-Olympic Basketball Tournament) เป็นทัวร์นาเมนต์สุดท้ายของการแข่งขันบาสเกตบอลโอลิมปิก สำหรับทีมที่ไม่ใช่ผู้ชนะเลิศจากโซนสมาพันธ์บาสเกตบอลแต่ละทวีป ซึ่งจะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันรายการนี้เพื่อชิงโควตาสุดท้ายที่เหลืออยู่สำหรับการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน

ผลการแข่งขันชาย

[แก้]
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ผู้ชนะ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับ 3 คะแนน อันดับ 4
1960 อิตาลี โบโลญญา พูล 1 ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติสเปน สเปน ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม* ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติแคนาดา แคนาดา*
พูล 2 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติฮังการี ฮังการี ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล*
1964 ญี่ปุ่น โยโกฮามะ ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ธงชาติแคนาดา แคนาดา ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
1968 เม็กซิโก มอนเตร์เรย์ ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 83–82 ธงชาติสเปน สเปน[1] ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย* 93–65 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย*
1972 เยอรมนีตะวันตก เอาคส์บวร์ค ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 82–78 ธงชาติสเปน สเปน[2] ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย* ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก*
1976 แคนาดา แฮมิลตัน ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติบราซิล บราซิล*
1988 เนเธอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ [[Image:{{{flag alias-1988}}}|22x20px|border |ธงชาติสหภาพโซเวียต]] สหภาพโซเวียต ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสเปน สเปน ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติอิตาลี อิตาลี*
1992 สเปน ประเทศสเปน ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย ธงชาติเครือรัฐเอกราช เครือรัฐเอกราช ไม่มีรอบตัดเชือก ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะ อันดับ 3 คะแนน อันดับ 4
2008 กรีซ เอเธนส์ ธงชาติกรีซ กรีซ
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 96–82 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก*
2012 เวเนซุเอลา การากัส ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 88–73 ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน*
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะ คะแนน รองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ
2016 เซอร์เบีย เบลเกรด ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 108–77 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก* ธงชาติลัตเวีย ลัตเวีย*
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย*
ฟิลิปปินส์ ปาเซย์ ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 83–74 ธงชาติแคนาดา แคนาดา* ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์*
ธงชาติตุรกี ตุรกี*
อิตาลี ตูริน ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 84–78 ธงชาติอิตาลี อิตาลี* ธงชาติกรีซ กรีซ*
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก*
2020 โครเอเชีย สปลิต ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 75–64 ธงชาติบราซิล บราซิล* ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย*
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก*
ลิทัวเนีย เกานัส ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 96–85 ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย* ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา*
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์*
เซอร์เบีย เบลเกรด ธงชาติอิตาลี อิตาลี 102–95 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย* ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน*
ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก*
แคนาดา วิกตอเรีย ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย 97–72 ธงชาติกรีซ กรีซ* ธงชาติแคนาดา แคนาดา*
ธงชาติตุรกี ตุรกี*

(*) ไม่ผ่านเข้ารอบโอลิมปิกฤดูร้อน

ผลการแข่งขันหญิง

[แก้]
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะ รองชนะเลิศ อันดับ 3
1976 แคนาดา แฮมิลตัน
สหรัฐ

บัลแกเรีย

โปแลนด์
1980 บัลแกเรีย วาร์นา
สหรัฐ

บัลแกเรีย

คิวบา
1984 คิวบา ซันติอาโก
จีน

ยูโกสลาเวีย

แคนาดา
1988  มาเลเซีย
สหภาพโซเวียต

ยูโกสลาเวีย

จีน
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะ รอบรองชนะเลิศ อันดับ 4
1992 สเปน บิโก ธงชาติจีน จีน
ธงชาติเครือรัฐเอกราช เครือรัฐเอกราช
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับ 4
2008 สเปน มาดริด ธงชาติเบลารุส เบลารุส
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงชาติลัตเวีย ลัตเวีย
ธงชาติสเปน สเปน

บราซิล
2012 ตุรกี อังการา ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงชาติตุรกี ตุรกี
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

แคนาดา
2016 ฝรั่งเศส น็องต์ ธงชาติจีน จีน
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติสเปน สเปน
ธงชาติตุรกี ตุรกี

เบลารุส
ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ผู้ชนะ รองชนะเลิศ อันดับ 3
2020 เบลเยียม ออสเทนด์
แคนาดา

เบลเยียม

ญี่ปุ่น
ฝรั่งเศส เบอร์เกส
ฝรั่งเศส

ออสเตรเลีย

ปวยร์โตรีโก
เซอร์เบีย เบลเกรด
สหรัฐ

เซอร์เบีย

ไนจีเรีย

จีน

สเปน

เกาหลีใต้

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Selecciones - Federación Española de Baloncesto".
  2. "Selecciones - Federación Española de Baloncesto".

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]