ข้ามไปเนื้อหา

ซูโม่ชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ซูโม่ชิงแชมป์โลก (ญี่ปุ่น: 世界相撲選手権大会; อังกฤษ: Sumo World Championships) เป็นการแข่งซูโม่สมัครเล่นที่จัดโดยสหพันธ์ซูโม่นานาชาติ ซึ่งการแข่งชายเริ่มในปี ค.ศ. 1992 และการแข่งหญิงเริ่มในปี ค.ศ. 2001 โดยมีการแข่งทั้งสองรายการร่วมกัน โดยทั่วไปการแข่งจะจัดขึ้นทุกปีแม้ว่าอีเวนต์ในปี ค.ศ. 2009 และ 2011 จะถูกยกเลิกเนื่องจากการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และความไม่สงบทางการเมืองในช่วงอาหรับสปริงตามลำดับ[1]

รุ่นน้ำหนัก

[แก้]

ค.ศ. 1992–2018

[แก้]
รุ่นน้ำหนัก ชาย หญิง เยาวชนชาย* เยาวชนหญิง*
โอเพน ไม่จำกัด ไม่จำกัด ไม่จำกัด ไม่จำกัด
เฮฟวีเวต ≥115 กก. ≥80 กก. ≥100 กก. ≥75 กก.
มิดเดิลเวต 85−115 กก. 65–80 กก. 80–100 กก. 60–75 กก.
ไลต์เวต <85 กก. <65 กก. <80 กก. <60 กก.

 * ;  มีการจำกัดอายุ 13–18 ปี

ค.ศ. 2019–ปัจจุบัน

[แก้]
รุ่นน้ำหนัก ชาย หญิง เยาวชนชาย* เยาวชนหญิง*
โอเพน ไม่จำกัด ไม่จำกัด ไม่จำกัด ไม่จำกัด
เฮฟวีเวต ≥115 กก. ≥80 กก. ≥100 กก. ≥75 กก.
ไลต์เฮฟวีเวต 100–115 กก. 73–80 กก. (ไม่ได้ใช้)
มิดเดิลเวต 85−100 กก. 65–73 กก. 80–100 กก. 60–75 กก.
ไลต์เวต <85 กก. <65 กก. <80 กก. <60 กก.

 * ;  มีการจำกัดอายุ 13–18 ปี

การแข่งประเภททีมหญิง

[แก้]
ค.ศ. อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 3
2001 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
2002 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2004 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2005 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย ธงของประเทศฮังการี ฮังการี ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
2006 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2007 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
2008 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2010 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย ธงของประเทศบราซิล บราซิล ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
2012 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2014 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน  จีนไทเป ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2015 ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย
2016 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
2018 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  ไทย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
2019 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  ไทย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Gunning, John (26 February 2020). "Calling off Spring Basho would be right move for JSA". The Japan Times. สืบค้นเมื่อ 26 February 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]