มวยสากลชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก IBA World Boxing Championships)
มวยสากลชิงแชมป์โลก
สถานะดำเนินการอยู่
ประเภทรายการกีฬา
วันที่หลากหลาย
ความถี่สองปีครั้ง
ที่ตั้งหลากหลาย
ประเดิมค.ศ. 1974 (1974) (ชาย)
ค.ศ. 2001 (2001) (หญิง)
จัดโดยIBA

มวยสากลชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: IBA World Boxing Championships) และ มวยสากลหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: IBA Women's World Boxing Championships) (เดิมชื่อ AIBA) เป็นการแข่งขันกีฬามวยสากลสมัครเล่นทุกสองปี ที่จัดโดย สหพันธ์มวยสากลสมัครเล่นนานาชาติ (IBA) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลกีฬามวยสากล[1][2] นอกเหนือจากการแข่งขันมวยสากลในโอลิมปิกแล้ว การแข่งขันนี้ยังเป็นการแข่งขันระดับสูงสุดสำหรับกีฬาชนิดนี้อีกด้วย การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งแรกจัดขึ้นสำหรับผู้ชายในปี ค.ศ. 1974 และการแข่งขันชิงแชมป์หญิงครั้งแรกจัดขึ้นในอีก 25 ปีต่อมาในปี ค.ศ. 2544[3]

การแข่งขันทั้งสองรายการจะจัดแยกกันตามกำหนดการทุก ๆ สองปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 การแข่งขันชิงแชมป์ชายจะจัดขึ้นทุกปีคี่ การแข่งขันชิงแชมป์หญิงจัดขึ้นในปีที่เลขคู่ ระหว่าง ค.ศ. 2006 ถึง 2018 และเปลี่ยนเป็นกำหนดการปีคี่เพียงในนามใน พ.ศ. 2019

การแข่งขันชาย[แก้]

ตารางสรุปเหรียญรางวัลตลอดกาล (ค.ศ. 1974–2021)[แก้]

อัพเดตหลังมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลก 2021

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 คิวบา803528143
2 รัสเซีย26212269
3 สหรัฐ [a]18131950
4 สหภาพโซเวียต15111743
5 คาซัคสถาน14152251
6 อุซเบกิสถาน9151943
7 บัลแกเรีย881935
8 ยูเครน7121130
9 โรมาเนีย751729
10 อาเซอร์ไบจาน741122
11 อิตาลี631524
12 ฝรั่งเศส561627
13 เยอรมนี462535
14 จีน31913
15 ฮังการี31610
16 ตุรกี241117
17 เกาหลีใต้23813
18ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก [a]2136
19 ญี่ปุ่น2125
20ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก181524
21 ยูโกสลาเวีย161017
22 อังกฤษ14914
23 มองโกเลีย14611
24 โปแลนด์13913
 ไอร์แลนด์13913
26 ไทย1359
27 อาร์มีเนีย12710
28 บราซิล1258
29สหพันธ์มวยสากลรัสเซีย [b]1225
30 จอร์เจีย1168
31 ไนจีเรีย1135
32 เคนยา1102
33 โมร็อกโก1023
34 ยูกันดา1012
35 เวเนซุเอลา05611
36 เบลารุส03710
37 ฟิลิปปินส์0336
38 ฟินแลนด์0325
39 เกาหลีเหนือ0257
40 เนเธอร์แลนด์0224
 แอลจีเรีย0224
42 อินเดีย0167
43 แคนาดา0145
44 ลิทัวเนีย0134
45สหพันธ์กีฬามวยสากลแห่งประเทศไทย [c]0123
 อาร์เจนตินา0123
 เวลส์0123
48 เอกวาดอร์0112
 โครเอเชีย0112
50ธงของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก0066
51 ออสเตรเลีย0055
 อียิปต์0055
53 สวีเดน0044
54 ทาจิกิสถาน0033
 เช็กเกีย0033
56 นอร์เวย์0022
 สาธารณรัฐโดมินิกัน0022
 สเปน0022
 สโลวาเกีย0022
ธงของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร0022
61 กานา0011
 คอสตาริกา0011
 ตรินิแดดและโตเบโก0011
 นิวซีแลนด์0011
 บริเตนใหญ่0011
 ปากีสถาน0011
 ปานามา0011
 สกอตแลนด์0011
 อิหร่าน0011
ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย0011
 เซอร์เบีย0011
 เดนมาร์ก0011
 เบลเยียม0011
 เม็กซิโก0011
 แคเมอรูน0011
 แอลเบเนีย0011
 โคลอมเบีย0011
รวม (77 ประเทศ)235233470938
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 ผู้ชนะเลิศเหรียญเงิน 1986 หลุยส์ โรมัน โรลอน (48 กก., ปวยร์โตริโก) และ ลอเรน รอส (81 กก., สหรัฐ) ถูกตัดสิทธิ์เนื่องจากสารกระตุ้นและถอดเหรียญ ซึ่งไม่ได้โอนไปให้นักกีฬาคนอื่น
  2. ที่ การแข่งขันชิงแชมป์ 2021 ตามคำสั่งห้ามของ WADA และคำตัดสินของ CAS, รัสเซียไม่ได้อนุญาตให้นักมวยใช้ชื่อ ธงชาติ หรือเพลงชาติรัสเซีย พวกเขากลับเข้าร่วมในนาม สหพันธ์มวยสากลรัสเซีย และภายใต้ธง คณะกรรมการโอลิมปิกรัสเซีย
  3. ที่ การแข่งขันชิงแชมป์ 2021 ตามคำสั่งห้ามของ WADA นักมวยไทยเข้าร่วมแข่งขันในนามสหพันธ์กีฬามวยสากลแห่งประเทศไทยภายใต้ธงไอบา

อ้างอิง[แก้]

  1. "AIBA World Boxing Championships". AIBA.org. International Boxing Association (AIBA). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 March 2016.
  2. "AIBA Women's World Boxing Championships". AIBA.org. International Boxing Association (AIBA). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 March 2016.
  3. "AIBA Boxing History – AIBA". AIBA (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 November 2018. สืบค้นเมื่อ 25 November 2018.