ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก FIVB Volleyball Men's Club World Championship)
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรโลก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรโลก 2021
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1989
จำนวนทีม8 ทีม
ประเทศสมาชิกเอฟไอวีบี
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันบราซิล ซาดากรูเซย์รู (4 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดอิตาลี เตรนตีโน (5 สมัย)

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรโลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Men's Club World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับนานาชาติ อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1989 ที่ ประเทศอิตาลี และไม่ได้จัดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1993 ถึง ค.ศ. 2008 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 การแข่งขันที่ได้รับการจัดขึ้นทุกปี และกาตาร์และบราซิลได้หน้าที่เป็นเจ้าภาพ

รูปแบบการแข่งขันในปัจจุบันมีทั้งหมด 8 ทีม ซึ่งทีมที่เข้าร่วมเป็นตัวแทนของ สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (แอฟริกา) สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ (อเมริกาใต้) สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ยุโรป) สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (เอเชีย) นอร์เซกา (อเมริกาเหนือ) ทีมเจ้าภาพ และทีมที่ได้รับเชิญจากเอฟไอวีบีโดยตรง

แชมป์ปัจจุบันเป็นของซาดากรูเซย์รู จากประเทศบราซิล ในรอบชิงชนะเลิศ ชนะ สโมสรกูชีเนลูเบชีวีตาโนวา จากประเทศอิตาลี 3–1 เซ็ท

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1989
รายละเอียด
อิตาลี
ปาร์มา
อิตาลี
ปาร์มา
3–0 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
บราซิล
ปีเรลลีซันตูอันดแร
3–2 บราซิล
บาเนสปาเซาเปาลู
6
1990
รายละเอียด
อิตาลี
มิลาน
อิตาลี
กอนซากามีลาโน
3–0 บราซิล
บาเนสปาเซาเปาลู
อิตาลี
ปาร์มา
3–? อิตาลี
ปอร์โตราเวนนา
8
1991
รายละเอียด
บราซิล
เซาเปาลู
อิตาลี
ปอร์โตราเวนนา
3–1 บราซิล
บาเนสปาเซาเปาลู
อิตาลี
กอนซากามีลาโน
3–0 บราซิล
ฟรานโกซัลส์
8
1992
รายละเอียด
อิตาลี
เทรวิโซ
อิตาลี
กอนซากามีลาโน
3–2 อิตาลี
เตรวีโซ
กรีซ
โอลิมเปียกอส
3–? อิตาลี
ปอร์โตราเวนนา
8
2009
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
อิตาลี
เตรนตีโน
3–0 โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
รัสเซีย
เซนิต คาซาน
3–0 อิหร่าน
เปย์กันเตหะราน
8
2010
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
อิตาลี
เตรนตีโน
3–1 โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
อิหร่าน
เปย์กันเตหะราน
3–2 อาร์เจนตินา
เดรนจ์ โบลิการ์
8
2011
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
อิตาลี
เตรนตีโน
3–1 โปแลนด์
ยัสตแชมสกีแวงกีแยล
รัสเซีย
เซนิต คาซาน
3–1 บราซิล
เซซีเซาเปาลู
8
2012
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
อิตาลี
เตรนตีโน
3–0 บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
โปแลนด์
แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
3–2 รัสเซีย
เซนิต คาซาน
8
2013
รายละเอียด
บราซิล
เบชิม
บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
3–0 รัสเซีย
โลโคโมที โนโวซีบีสค์
อิตาลี
เตรนตีโน
3–1 อาร์เจนตินา
อูเปเซเอเน ซานฮวน
8
2014
รายละเอียด
บราซิล
เบโลโอรีซอนชี
รัสเซีย
เบโลกอร์เรียเบลโกรอด
3–1 ประเทศกาตาร์
อัลเรยัน
อาร์เจนตินา
อูเปเซเอเน ซานฮวน
3–2 บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
8
2015
รายละเอียด
บราซิล
เบชิม
บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
3–1 รัสเซีย
เซนิต คาซาน
อาร์เจนตินา
อูเปเซเอเน ซานฮวน
3–2 อิหร่าน
เปย์กันเตหะราน
6
2016
รายละเอียด
บราซิล
เบชิม
บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
3–0 รัสเซีย
เซนิต คาซาน
อิตาลี
เตรนตีโน
3–2 อาร์เจนตินา
โบลีบาร์
8
2017
รายละเอียด
โปแลนด์
โปแลนด์
รัสเซีย
เซนิต คาซาน
3–0 อิตาลี
กูชีเนลูเบชีวีตาโนวา
บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
3–0 โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
8
2018
รายละเอียด
โปแลนด์
โปแลนด์
อิตาลี
เตรนตีโน
3–1 อิตาลี
กูชีเนลูเบชีวีตาโนวา
รัสเซีย
ฟาเคลโนวีอูเรนกอย
3–1 โปแลนด์
อัสแซตซอแรซอเวีย
8
2019
รายละเอียด
บราซิล
เบชิม
อิตาลี
กูชีเนลูเบชีวีตาโนวา
3–1 บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
รัสเซีย
เซนิต คาซาน
3–0 ประเทศกาตาร์
อัล เรย์ยาน
4
2020
รายละเอียด
ถูกยกเลิกเนื่องจากการระบาดของ COVID-19
2021
รายละเอียด
บราซิล
เบชิม
บราซิล
ซาดากรูเซย์รู
3–1 อิตาลี
กูชีเนลูเบชีวีตาโนวา
อิตาลี
เตรนตีโน
3–0 บราซิล
ฟุนวิค เตาบาเต
6

สรุปผลการแข่งขันแบ่งตามสมาพันธ์

[แก้]
สมาพันธ์ ชนะเลิศ อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4
สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป 12 11 11 5
สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ 4 4 4 8
สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย 1 1 3
สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา
สมาพันธ์วอลเลย์บอลนอร์เซกา
รวม 16 16 16 16

สรุปเหรียญการแข่งขัน

[แก้]

ตารางเหรียญแบ่งตามสโมสร

[แก้]
อันดับที่ สโมสร ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 อิตาลี เตรนตีโน 5 0 3 8
2 บราซิล ซาดากรูเซย์รู 4 2 1 7
3 อิตาลี กอนซากามีลาโน 2 0 1 3
4 รัสเซีย เซนิต คาซาน 1 2 3 6
5 อิตาลี กูชีเนลูเบชีวีตาโนวา 1 3 0 4
6 อิตาลี ปาร์มา 1 0 1 2
7 อิตาลี ปอร์โตราเวนนา 1 0 0 1
รัสเซีย เบโลกอร์เรียเบลโกรอด 1 0 0 1
9 โปแลนด์ สกราแบวคาตุฟ 0 2 1 3
10 บราซิล บาเนสปาเซาเปาลู 0 2 0 2
11 รัสเซีย เซสกามอสโก[A] 0 1 0 1
อิตาลี เตรวีโซ 0 1 0 1
โปแลนด์ ยัสตแชมสกีแวงกีแยล 0 1 0 1
รัสเซีย โลโคโมที โนโวซีบีสค์ 0 1 0 1
ประเทศกาตาร์ อัลเรยัน 0 1 0 1
16 อาร์เจนตินา อูเปเซเอเน ซานฮวน 0 0 2 2
17 รัสเซีย ฟาเคลโนวีอูเรนกอย 0 0 1 1
บราซิล ปีเรลลีซันตูอันดแร 0 0 1 1
กรีซ โอลิมเปียกอส 0 0 1 1
อิหร่าน เปย์กันเตหะราน 0 0 1 1
รวม 16 16 16 48

ตารางเหรียญแบ่งตามประเทศ

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 10 4 5 19
2 ธงของประเทศบราซิล บราซิล 4 4 2 10
3 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย[A] 2 4 4 10
4 ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 0 3 1 4
5 ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ 0 1 0 1
6 ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 0 0 2 2
7 ธงของประเทศกรีซ กรีซ 0 0 1 1
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน 0 0 1 1
รวม 16 16 16 48

ผู้เล่นทรงคุณค่า

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 เอฟไอวีบี พิจารณาให้รัสเซีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1993) รับช่วงต่อจากสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991) และเครือรัฐเอกราช (ค.ศ. 1992)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]