บอร์นดิสเวย์ (เพลง)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
"บอร์นดิสเวย์"
ซิงเกิลโดยเลดีกากา
จากอัลบั้มบอร์นดิสเวย์
เขียนเมื่อกุมภาพันธ์ 2010
วางจำหน่าย11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 (2011-02-11)
บันทึกเสียง2010
สตูดิโอ
  • Abbey Road ลอนดอน
  • Germano นครนิวยอร์ก
แนวเพลงอิเล็กโทรป็อป
ความยาว4:20
ค่ายเพลง
ผู้ประพันธ์เพลง
โปรดิวเซอร์
ลำดับซิงเกิลของเลดีกากา
"แดนซ์อินเดอะดาร์ก"
(2010)
"บอร์นดิสเวย์"
(2011)
"ยูดาส"
(2011)
มิวสิกวิดีโอ
"Born This Way" ที่ยูทูบ

"บอร์นดิสเวย์" (อังกฤษ: Born This Way) เป็นเพลงในสตูดิโออัลบั้มที่สอง ซิงเกิลที่ 9 ของนักร้องสาวสุดมาดเลดีกากา ศิลปินชาวอเมริกัน เพลงนี้แต่งโดยเลดีกากา และปล่อยลงเว็บไซต์ของกาก้า เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2011 เพลงบอร์นดิสเวย์ ประสบความสำเร็จอย่างมากและพบกับคำวิจารณ์ เนื่องจากมีความคล้ายคลึงกับเพลง"เอ็กเพรส ยัวร์เซลฟ์" ของมาดอนน่า และเป็นเพลงที่มียอดดาวน์โหลดสูงทีสุดของเว็บยอดฮิตอย่าง iTunes โดยเพลงบอร์นดิสเวย์ใช้เวลาเพียง 3 ชั่วโมง ทำลายสถิติมียอดดาวน์โหลดสูงสุดถึง 448,000 ยูนิต ในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง และมียอดดาวน์โหลดมากกว่า 1 ล้านดาวน์โหลด ในเวลาเพียง 5 วันเท่านั้น นอกจากจะขึ้นอันดับ 1 บนชาร์ตดาวน์โหลดทาง iTunes ใน 23 ประเทศทั่วโลกแล้ว ยังติดอันดับ 1 เพลงฮิต ของบิลบอร์ดชาร์ตอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันสถิติยอดดาวน์โหลดตกเป็นของเพลง วีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์ ของนักร้องคันทรี เทย์เลอร์ สวิฟต์ ซึ่งทำไว้ภายในเวลา 50 นาที ซึ่งทำได้ถึง 623,000 ยูนิต

วันที่กาก้าปล่อยเพลงบอร์นดิสเวย์ตรงกับงานประกาศรางวัลแกรมมี่ อวอร์ส โดยกาก้าได้แสดงเพลงบอร์นดิสเวย์ในงานเป็นครั้งแรก ก่อนปล่อยเวอร์ชันอย่างเป็นทางมาให้แฟนเพลงได้ฟังและดาวน์โหลด

เลดีกากาแสดงโชว์ที่มอนสเตอร์บอลทัวร์

คำวิจารณ์ของเพลงบอร์นดิสเวย์[แก้]

หลังได้ปล่อยผลงานล่าสุด Born This Way ออกมาให้แฟนๆที่คอยติดตามได้ฟังกันแล้วผ่านทางทวิตเตอร์ของเธอ แต่เพียงไม่กี่นาที หลังการเปิดตัวแฟนเพลงนับพันต่างโจมตีผ่านอินเทอร์เน็ต กล่าวหาว่าเธอนั้นได้ขโมยจังหวะและทำนองเพลงมาจาก Express Yourself ผลงานสุดฮิตของ มาดอนนาเมื่อปี 1989 โดยหนึ่งในแฟนคลับในทวิตเตอร์ของเธอได้เขียนวิจารณ์เกี่ยวกับเพลงนี้ว่า "เพลง ของเลดีกากาก็ดีนะ แต่พระเจ้า มันฟังดูเหมือนเพลง Express Yourself ของมาดอนนาเป๊ะเลย คุณสามารถเอาเนื้อเพลงเก่ามาร้องใส่ของใหม่ได้เลย" ทางด้านเปเรซ ฮิลตัน เจ้าของบล็อกกอสซิปชื่อดังที่เป็นแฟนคลับตัวยงของเลดีกากา ก็สังเกตเห็นถึงความคล้ายคลึงของเพลงนี้ได้เช่นเดียวกันโดยเขาได้ระบุว่า "Express Yourself 2.0 คือสิ่งที่คนเขาพูดกัน แต่ฉันจะฟังมันอย่างมีความสุข!" นอกจากนั้นทางเลดีกากา ยังโดนกล่าวหาด้วยว่าหน้าปกอัลบั้ม Born This Way ของเธอได้ลอกแบบหน้าปกอัลบั้มมาจาก 2 Hearts ของไคลี มิโนค เมื่อปี 2007อีกด้วย ทั้งนี้ จึงทำให้ประสบปัญหาหนักในเรื่องทำนองเพลง หน้าปกอัลบั้ม ที่เหมือนเพลงเก่าของมาดอนน่าอย่างไรก็ตามเพลงบอร์นดิสเวย์ของเลดีกากา ก็ติดอันดับ 1 เพลงฮิตอยู่เช่นเดิม

2012[แก้]

เพลงบอร์นดิสเวย์ได้เกิดกระแสอีกครั้ง เมื่อนักร้องอเมริกัน มาดอนน่า ได้นำเพลง Express Yourself ของเธอกับเพลง บอร์นดิสเวย์ มาผสมการร้องกับทำนองเพลง Express Yourself ในการโชว์ในคอนเสิร์ต MDNA Tour ของมาดอนน่าซึ่งทำให้แยกแยะและแน่ชัดถึงทำนองเพลงที่คล้ายคลึงโดยเป็นกระแสใหญ่ถึงความไม่ถูกคอกันของสองนักร้อง โดยหลังจากมาดอนน่าร้องเพลง บอร์นดิสเวย์จบ เธอก็ร้องเพลง She not me ต่อซึงหลายคนตีความได้ว่ามาดอนน่าต้องการจะสื่อถึงกาก้านั้นเอง โดยแฟนคลับของกาก้าก็ไม่พอใจที่มาดอนน่านำเพลงไปร้องผสมกัน

มิวสิกวิดีโอ[แก้]

โลโก้ อัลบั้มเพลงบอร์นดิสเวย์
เลดีกากา ร้องเพลงบนเวทีคู่กับ มาเรีย อารากอนในมอนสเตอร์บอลทัวร์

วิดีโอเริ่มด้วยภาพเงาของยูนิคอร์นภายในสามเหลี่ยมสีชมพู และถูกลดกรอบใหม่เป็นเลดีกากานั่งอยู่ในท่ามกลางราชบัลลังก์แก้วหรูหราที่เต็มไปด้วยอวกาศและดวงดาว และเริ่มอธิบายขึ้นว่า นี่คือแถลงการณ์จากมารดาของมอนสเตอร์ ณ ที่ทำการเขตปกครองตนเองของรัฐบาลเอเลี่ยน ได้มีการเกิดของสิ่งที่งดงามและมหัศจรรย์ แต่การเกิดนั้นยังไม่สิ้นสุด มันไม่มีการสิ้นสุด ตราบเท่าที่จำนวนรังไข่และวัฎจักรของเซลล์ในอนาคตได้เริ่ม...เกิดขึ้น ก็ทำให้เรารับรู้ได้ว่าช่วงเวลาที่น่าเศร้าเหล่านี้ไม่ได้เป็นเพียงแค่ชั่ว คราว แต่มันมีอยู่ชั่วนิรันดร์ และดังนั้นเมื่อมีการเริ่มต้นของสายพันธุ์ใหม่ สายพันธุ์ในพันธุ์ของมนุษย์ สายพันธุ์ที่ไม่มีอคติ และมีอิสระอย่างไม่มีขอบเขต แต่ในวันเดียวกันนั้น ยังมีแม่ผู้ซึ่งลังเลต่อโลกต่างๆ และยังหวาดกลัวในการให้กำเนิด การเกิดของปีศาจ(สิ่งชั่วร้าย) และดังที่เห็นเธอแยกร่างออกมาเป็น 2 ร่าง แสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานที่หมุนวนในร่าง 2 ร่างที่พยายามจะควบคุมกันและกัน ลูกตุ้มนาฬิกาเริ่มหมุนกวัดแกว่ง มันก็เหมือนให้คุณจินตนาการอย่างง่ายๆ ว่ามันถูกดูดเข้าหากันอย่างทันที และ แน่วแน่ต่อความดี แต่แล้วเธอก็สงสัยว่าแล้วเธอจะสามารถปกป้องบางสิ่งที่สมบูรณ์อย่างนี้โดย ปราศจากสิ่งชั่วร้าย(ปีศาจ)ได้อย่างไร จากบทความข้างต้นที่คือบทพูดของกาก้าในระยะ 2 นาทีแรกที่พยายามจะสื่อความหมายออกมา ในตอนแรกทีมันเป็นรูปสามเหลี่ยมสี่ชมพูคว่ำนั้น สามารถตีความหมายได้คือ สัญลักษณ์ของเกย์ชาวยิวในสมัยยุคนาซี ซึ่งสามารถแทนกับยุคปัจจุบันนี่ได้ว่า ถึงแม้ระยะเวลาจะผ่านมาหลายปีแล้ว แต่การเกลียด การแบ่งสิทธิยังมีอยู่แบบในปัจจุบัน ด้านล่างของราชบัลลังค์แก้วคือ"สายพันธุ์ใหม่"ที่มารดาของมอนสเตอร์ได้คลอดออกมา ซึ่งทุกคนที่เกิดมามีหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน นั้นหมายถึงความ"เสมอภาค"ของสายพันธุ์ที่จะเกิดใหม่นี่ทุกคนมีสิทธิ หน้าตา เสรีภาพเท่าเทียมกันหมด ค้านบนของห้องสีดำมีกาก้าที่ยิงปืนอยู่หมายถึงว่ากาก้าจะคอยปกป้องเหล่าลิตเติ้ล มอนเตอร์(ในขณะที่กาก้ายิงปืนเสียงลั่นไกเป็นเสียงระฆังแต่งงาน) และทำการเริ่มเพลง กาก้าและนักเต้นทั้งหมดเต้นภายในห้องสีดำที่ดูเหมือนไม่มีที่สิ้นสุด กาก้าปรากฏในชุดชั้นในที่มีไหล่และใบหน้าที่งอกออกมากาก้าหมายถึงนางก็เหมือนกับคนอื่นๆเท่าเทียมกัน(นั้นจึงเป็นเหตุผลว่าทำไมนางจึงใส่แค่ชุดชั้นในเต้นทั้งเรื่อง)คือนางต้องการจะสื่อว่า นางก็เป็นคนเหมือนคนอื่นๆมีสิทธิเท่าเทียมกัน และมีฉากที่กาก้าเขียนหน้าเป็นผีดิบแต่งกายชุดสูทเต้นคู่กับชายที่ใส่ชุดสูทเหมือนกัน นั้นหมายถึง"สายพันธุ์ใหม่"ที่เกิดขึ้นมาและการแต่งงานของเพศเดียวกัน(เพราะเหตุนี้ เสียงลั่นไกของปืนที่กาก้ายิงเป็นเสียงระฆังแต่งงาน) พอเพลงจบเพลงทุกคนรวมกันกอด หมายถึง"สายพันธุ์ใหม่"ที่เกิดมานั้นรักกัน ไม่มีใครเหยียดหยามซึ่งกันและกัน ต่างคนต่างอยู่ด้วยความรักใคร่ปรองดองและกาก้าที่เดินมาเหินแต่ถุงมือสีขาวและที่กาก้าทำฟันให้ห่าง กาก้าตั้งใจจะสื่อทั้งไมเคิ้ล แจ็คสัน และ มาดอนน่านั้นแหละ The King and The Queen of Pop ในการสื่อของนางนั้นก็คือ ทั้งสองคนนี้ได้ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้กลายเป็นสิ่งรูปธรรมสนับสนุนLGBTและไมเคิ้ล ก็ส่งทำเพลงออกมาตลอดว่าถึงความเท่าเทียมกันของมนุษย์ ทั้งสองคนนี้จะเป็นบุคคลที่เป็นต้นแบบของนักร้องหลายๆคน ที่คอยปูทางให้นักร้องแบบกาก้าเรื่อยมา กาก้าขี่ยูนิคอร์นออกมา ด้านบนมีสายรุ้งและมีฉากหลังเป็นเมืองที่สวยงามในยามค่ำคืน หมายถึงทุกอย่างจะดีขึ้น[1]

ชาร์ต[แก้]

การรับรองและยอดขาย[แก้]

ประเทศ การรับรอง จำนวนหน่วยที่รับรอง/ยอดขาย
Australia (ARIA)[81] 4× Platinum 280,000^
Belgium (BEA)[82] Gold 15,000*
Denmark (IFPI Danmark)[83] Platinum 30,000^
France 107,500[84]
Germany (BVMI)[85] Platinum 300,000double-dagger
Italy (FIMI)[86] 2× Platinum 60,000*
Japan (RIAJ)[87]
Cell version
Platinum 0^
Japan (RIAJ)[88]
PC version
Million 1,000,000^
New Zealand (RMNZ)[89] Platinum 15,000*
Norway (IFPI Norway)[90] 6× Platinum 60,000*
South Korea 1,150,000[91]
Spain (PROMUSICAE)[92] Gold 20,000*
Sweden (GLF)[93] 5× Platinum 200,000double-dagger
Switzerland (IFPI Switzerland)[94] Platinum 30,000^
United Kingdom (BPI)[96] Platinum 936,000[95]
United States (RIAA)[98] 6× Platinum 4,300,000[97]
สรุป
Worldwide 8,200,000[99]

*ตัวเลขยอดขายขึ้นกับการรับรองอย่างเดียว
^ตัวเลขการจัดส่งขึ้นอยู่กับการรับรองเพียงอย่างเดียว
double-daggerตัวเลขสตรีมมิงและยอดขายขึ้นอยู่กับการรับรองเพียงอย่างเดียว

ประวัติการวางจำหน่าย[แก้]

ภูมิภาค วันที่ รูปแบบ เวอร์ชัน ค่าย อ้างอิง
ต่างประเทศ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 (2011-02-11) ดิจิทัลดาวน์โหลด ต้นฉบับ อินเตอร์สโคป [100]
ออสเตรเลีย วิทยุยอดฮิตร่วมสมัย
[101]
อิตาลี ยูนิเวอร์แซล [102]
สหรัฐ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 (2011-02-15) อินเตอร์สโคป [103]
Rhythmic radio [104]
รัสเซีย 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 (2011-02-18) วิทยุยอดฮิตร่วมสมัย ยูนิเวอร์แซล [34]
ออสเตรเลีย 4 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-04) ซีดี อินเตอร์สโคป [105]
เยอรมนี 11 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-11) [106]
สหราชอาณาจักร 14 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-14) โพลิดอร์ [107]
กรีซ ยูนิเวอร์แซล [108]
สหรัฐ 15 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-15) อินเตอร์สโคป [109]
นิวซีแลนด์ [110]
ต่างประเทศ ดิจิทัลดาวน์โหลด The Remixes, Pt. 1 [111]
ญี่ปุ่น 16 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-16) ซีดี ต้นฉบับ ยูนิเวอร์แซล [112]
ต่างประเทศ 25 มีนาคม ค.ศ. 2011 (2011-03-25) ดิจิทัลดาวน์โหลด The Remixes, Pt. 2 อินเตอร์สโคป [113]
คันทรีโรด [114]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2069784
  2. "Lady Gaga – Born This Way". ARIA Top 50 Singles. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  3. "Lady Gaga – Born This Way" (in German). Ö3 Austria Top 40. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  4. "Lady Gaga – Born This Way" (in Dutch). Ultratop 50. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  5. "Lady Gaga – Born This Way" (in French). Ultratop 50. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  6. 6.0 6.1 "Brasil Hot 100 Airplay". Billboard Brasil (ภาษาโปรตุเกส). Vol. 2 no. 96. São Paulo. March 2011.
  7. "Lady Gaga Chart History (Canadian Hot 100)". Billboard. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  8. "Lady Gaga Chart History (Canada AC)". Billboard. สืบค้นเมื่อ January 7, 2018.
  9. "Lady Gaga Chart History (Canada CHR/Top 40)". Billboard. สืบค้นเมื่อ January 7, 2018.
  10. "Lady Gaga Chart History (Canada Hot AC)". Billboard. สืบค้นเมื่อ January 7, 2018.
  11. "ČNS IFPI" (in Czech). Hitparáda – Radio Top 100 Oficiální. IFPI Czech Republic. Note: Change the chart to CZ – RADIO – TOP 100 and insert 201120 into search. สืบค้นเมื่อ April 25, 2011.
  12. "Lady Gaga – Born This Way". Tracklisten. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  13. "Lady Gaga Chart History (Euro Digital Song Sales)". Billboard. สืบค้นเมื่อ January 15, 2021.
  14. "Lady Gaga: Born This Way" (in Finnish). Musiikkituottajat. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  15. "Lady Gaga – Born This Way" (in French). Les classement single. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
  16. "Lady Gaga – Born This Way" (in German). GfK Entertainment charts. สืบค้นเมื่อ October 12, 2018.
  17. "Στην 1η θέση αυτή την εβδομάδα". Billboard. IFPI Greece. มิถุนายน 6, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 29, 2011. สืบค้นเมื่อ June 6, 2011.
  18. "Archívum – Slágerlisták – MAHASZ" (in Hungarian). Dance Top 40 lista. Magyar Hanglemezkiadók Szövetsége. สืบค้นเมื่อ April 29, 2020.
  19. "Archívum – Slágerlisták – MAHASZ" (in Hungarian). Rádiós Top 40 játszási lista. Magyar Hanglemezkiadók Szövetsége. สืบค้นเมื่อ April 29, 2020.
  20. "Archívum – Slágerlisták – MAHASZ" (in Hungarian). Single (track) Top 40 lista. Magyar Hanglemezkiadók Szövetsége. สืบค้นเมื่อ April 24, 2011.
  21. "Lady Gaga Chart History". RÚV. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ สิงหาคม 27, 2017. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 28, 2017.
  22. "The Irish Charts – Search Results – Born This Way". Irish Singles Chart. สืบค้นเมื่อ January 18, 2020.
  23. "Media Forest: Airplay chart" (ภาษาฮิบรู). Media Forest. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ตุลาคม 25, 2012. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 30, 2011.
  24. "Lady Gaga – Born This Way". Top Digital Download. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  25. "Lady Gaga Chart History (Japan Hot 100)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  26. "Lady Gaga Chart History (Luxembourg Digital Song Sales)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.[ลิงก์เสีย]
  27. "Continúa Lady Gaga a la cabeza de las preferencias radiales en inglés". El Porvenir (ภาษาสเปน). เมษายน 19, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ตุลาคม 19, 2012. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 1, 2012.
  28. "Nederlandse Top 40 – week 9, 2011" (in Dutch). Dutch Top 40. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  29. "Lady Gaga – Born This Way" (in Dutch). Single Top 100. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  30. "Lady Gaga – Born This Way". Top 40 Singles. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  31. "Lady Gaga – Born This Way". VG-lista. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  32. "Listy bestsellerów, wyróżnienia :: Związek Producentów Audio-Video". Polish Airplay Top 100. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  33. "Lady Gaga Chart History (Portugal Digital Song Sales)". Billboard.[ลิงก์เสีย]
  34. 34.0 34.1 "Chart Search". Tophit for Lady Gaga. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2016. สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2016.
  35. "Official Scottish Singles Sales Chart Top 100". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ April 24, 2011.
  36. "ČNS IFPI" (in Slovak). Hitparáda – Radio Top 100 Oficiálna. IFPI Czech Republic. Note: insert 201112 into search. สืบค้นเมื่อ April 25, 2011.
  37. "가온차트와 함께하세요 – Digital Comprehensive charts" (ภาษาเกาหลี). Gaon Chart. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 22, 2011. สืบค้นเมื่อ February 22, 2011.
  38. "Lady Gaga – Born This Way" Canciones Top 50. สืบค้นเมื่อ April 25, 2011.
  39. "Lady Gaga – Born This Way". Singles Top 100. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  40. "Lady Gaga – Born This Way". Swiss Singles Chart. สืบค้นเมื่อ April 7, 2011.
  41. "Lady Gaga: Artist Chart History". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ January 15, 2021.
  42. "Lady Gaga Chart History (Hot 100)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 25, 2011.
  43. "Lady Gaga Chart History (Adult Contemporary)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 3, 2012.
  44. "Lady Gaga Chart History (Adult Pop Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 3, 2012.
  45. "Lady Gaga Chart History (Dance Club Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 3, 2012.
  46. "Lady Gaga Chart History (Dance Mix/Show Airplay)". Billboard. สืบค้นเมื่อ June 8, 2017.
  47. "Lady Gaga Chart History (Latin Pop Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 28, 2015.
  48. "Lady Gaga Chart History (Pop Songs)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 3, 2012.
  49. "Lady Gaga Chart History (Rhythmic)". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 28, 2015.
  50. "Adele's "21" crowned ARIA's highest selling album of 2011, LMFAO takes single honours with "Party Rock Anthem"" (PDF). Australian Recording Industry Association. January 1, 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 27, 2012. สืบค้นเมื่อ January 1, 2012.
  51. "ARIA Charts - End Of Year Charts - Top 50 Dance Singles 2011". Australian Recording Industry Association. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 27, 2014. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 13, 2014.
  52. "Jahreshitparade 2011". Hitradio Ö3 (ภาษาเยอรมัน). Hung Medien. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 9, 2012. สืบค้นเมื่อ January 3, 2012.
  53. "Jaaroverzichten 2011". Ultratop (ภาษาดัตช์). Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ตุลาคม 19, 2012. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 25, 2011.
  54. "Jaaroverzichten 2011: Dance". Ultratop (ภาษาดัตช์). Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 29, 2014. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 13, 2014.
  55. "Rapports annuels 2011". Ultratop (ภาษาฝรั่งเศส). Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 19, 2012. สืบค้นเมื่อ December 25, 2011.
  56. "Rapports annuels 2011: Dance". Ultratop (ภาษาฝรั่งเศส). Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 14, 2014. สืบค้นเมื่อ October 13, 2014.
  57. "Billboard Year-end 2011: Canadian Hot 100". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ตุลาคม 17, 2012. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 10, 2011.
  58. "Single-Top 100". Hitlisten. IFPI Danmark& Nielsen Music Control. มกราคม 23, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 26, 2014.
  59. "Classement des 100 premiers Singles Fusionnés par GfK Music 2011" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Syndicat National de l'Édition Phonographique. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 16, 2012. สืบค้นเมื่อ January 30, 2012.
  60. "Single Jahrescharts 2011" (ภาษาเยอรมัน). Offizielle Charts. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 9, 2015. สืบค้นเมื่อ January 10, 2012.
  61. "Dance Top 100 - 2011". Mahasz. สืบค้นเมื่อ April 29, 2020.
  62. "Rádiós Top 100 - hallgatottsági adatok alapján - 2011". Mahasz. สืบค้นเมื่อ April 29, 2020.
  63. "Best of 2011". Irish Recorded Music Association. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กรกฎาคม 24, 2012. สืบค้นเมื่อ มกราคม 16, 2012.
  64. "Yearly Top Charts: Click on 2011" (ภาษาฮิบรู). Media Forest. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 2, 2014. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 31, 2013.
  65. "I singoli più venduti del 2011". Hit Parade Italia (ภาษาอิตาลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ สิงหาคม 8, 2014. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 13, 2014.
  66. "Billboard Year-end 2011: Japan Hot 100". Billboard—Japan. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 2, 2013. สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 24, 2013.
  67. "Top Selling Singles of 2011 | The Official New Zealand Music Chart". Nztop40.co.nz. December 31, 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 17, 2014. สืบค้นเมื่อ August 17, 2014.
  68. "Top 100-Jaaroverzicht van 2011". Dutch Top 40. สืบค้นเมื่อ October 28, 2019.
  69. "Jaaroverzichten 2011". MegaCharts (ภาษาดัตช์). Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 7, 2012. สืบค้นเมื่อ December 25, 2011.
  70. Berghea, Andreea (January 1, 2012). "ROMANIAN TOP 100 – clasamentul anului 2011" (ภาษาโรมาเนีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 12, 2012. สืบค้นเมื่อ January 1, 2021.
  71. "Top 50 Canciones 2011" (ภาษาสเปน). Productores de Música de España. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 5, 2013. สืบค้นเมื่อ January 27, 2012.
  72. "Årslista Singlar – År 2011" (ภาษาสวีเดน). Sverigetopplistan. Swedish Recording Industry Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 4, 2013. สืบค้นเมื่อ January 31, 2012.
  73. "Swiss Year-end Charts 2011". Hung Medien. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 25, 2012. สืบค้นเมื่อ January 2, 2012.
  74. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ukyearend
  75. "Billboard Year-end 2011: Hot 100". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 9, 2012. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 10, 2011.
  76. "Billboard Year-end 2011: Adult Pop Songs". Billboard. สืบค้นเมื่อ December 10, 2011.
  77. "Billboard Year-end 2011: Hot Dance Club Songs". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 11, 2012. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 10, 2011.
  78. "Dance/Mix Show Songs – Year-End 2011". Billboard. สืบค้นเมื่อ February 16, 2020.
  79. "Billboard Year-end 2011: Hot Mainstream Top 40". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 11, 2012. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 10, 2011.
  80. "Japan Hot 100: 2012 Year-End". Billboard.com. สืบค้นเมื่อ August 24, 2019.
  81. "ARIA Charts – Accreditations – 2011 Singles" (PDF). Australian Recording Industry Association. สืบค้นเมื่อ April 24, 2012.
  82. "Ultratop − Goud en Platina – singles 2012". Ultratop. Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 12, 2012.
  83. "Danish single certifications – Lady Gaga – Born This Way". IFPI Danmark. สืบค้นเมื่อ August 2, 2013. Scroll through the page-list below until year 2011 to obtain certification.
  84. Durand, Dominic. "InfoDisc : Les Meilleurs Ventes de Singles en 2011" (ภาษาฝรั่งเศส). InfoDisc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 28, 2016. สืบค้นเมื่อ July 29, 2013.
  85. "Gold-/Platin-Datenbank (Lady Gaga; 'Born This Way')" (ภาษาเยอรมัน). Bundesverband Musikindustrie. สืบค้นเมื่อ April 27, 2018.
  86. "Italian single certifications – Lady Gaga – Born This" (ภาษาอิตาลี). Federazione Industria Musicale Italiana. สืบค้นเมื่อ October 2, 2012. Select "Tutti gli anni" in the "Anno" drop-down menu. Select "Born This" in the "Filtra" field. Select "Singoli" under "Sezione".
  87. レコード協会調べ 4月度有料音楽配信認定<略称:4月度認定> [Record Association report: April digital music download certifications] (ภาษาญี่ปุ่น). Recording Industry Association of Japan. ตุลาคม 20, 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ตุลาคม 24, 2011. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 20, 2011.
  88. レコード協会調べ 2月度有料音楽配信認定 <略称:2月度認定> [Paid music distribution certification for February 2014] (ภาษาญี่ปุ่น). Recording Industry Association of Japan. September 20, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 6, 2014. สืบค้นเมื่อ March 19, 2014.
  89. "New Zealand single certifications – Lady Gaga – Born This Way". Recorded Music NZ. สืบค้นเมื่อ April 20, 2013.
  90. "Norwegian single certifications – Lady Gaga – Born This Way" (ภาษานอร์เวย์). IFPI Norway. สืบค้นเมื่อ April 20, 2013.
  91. "South Korean Gaon Chart: Online download – 2011". Gaon Chart. Korea Music Content Industry Association. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 4, 2016. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 28, 2017.
  92. "Spanish single certifications – Lady Gaga – Born This Way". El portal de Música. Productores de Música de España. สืบค้นเมื่อ April 20, 2013.
  93. "Guld- och Platinacertifikat − År 2011" (PDF) (ภาษาสวีเดน). IFPI Sweden. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ April 20, 2013.
  94. "The Official Swiss Charts and Music Community: Awards (Lady Gaga; 'Born This Way')". IFPI Switzerland. Hung Medien. สืบค้นเมื่อ April 20, 2013.
  95. Myers, Justin (January 23, 2020). "Lady Gaga's Biggest Songs on the Official UK Chart (Updated 2020)". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ March 28, 2020.
  96. "British single certifications – Lady Gaga – Born This Way". British Phonographic Industry. สืบค้นเมื่อ March 28, 2020.Select singles in the Format field. Select Platinum in the Certification field. Type Born This Way in the "Search BPI Awards" field and then press Enter.
  97. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ uscareer19
  98. "American single certifications – Lady Gaga – Born This Way". Recording Industry Association of America. สืบค้นเมื่อ March 3, 2016.
  99. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ifpi
  100. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ btwrelease
  101. "Lady Gaga – Born This Way (INT/UMA)". The Music Network. Peer Group Media (823). February 14, 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 12, 2011. สืบค้นเมื่อ May 15, 2011.
  102. "EarOne | Radio Date, le novita musicali della settimana" (ภาษาอิตาลี). EarOne. สืบค้นเมื่อ August 24, 2020.
  103. "Top 40/M Future Releases". All Access Music Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 6, 2011.
  104. "Top 40 Rhythmic Future releases". All Access Music Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 6, 2011.
  105. "Born This Way Lady Gaga, Rock & Pop, CD Singles". Sanity. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กรกฎาคม 6, 2011. สืบค้นเมื่อ มีนาคม 14, 2011.
  106. "Born This Way (Digi): Lady Gaga: Musik" (ภาษาดัตช์). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 4, 2016. สืบค้นเมื่อ เมษายน 22, 2011.
  107. "Born This Way: Lady Gaga: Music". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มิถุนายน 29, 2011. สืบค้นเมื่อ เมษายน 24, 2011.
  108. "Born This Way CD" (ภาษากรีก). Diskopolis.gr. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กรกฎาคม 21, 2011. สืบค้นเมื่อ มีนาคม 12, 2011.
  109. "Amazon.com: Born This Way [EP]". Amazon. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 17, 2011. สืบค้นเมื่อ March 3, 2021.
  110. "Born This Way [EP]". CD WOW!. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 25, 2011. สืบค้นเมื่อ February 15, 2011.
  111. "Born This Way (The Remixes, Pt. 1) - Single by Lady Gaga". Apple Music. สืบค้นเมื่อ March 3, 2021.
  112. レディー・ガガ、第二幕、開幕―。 (ภาษาญี่ปุ่น). Universal Music Japan. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 15, 2011. สืบค้นเมื่อ มีนาคม 3, 2011.
  113. "Born This Way (The Remixes, Pt. 2) - Single by Lady Gaga". Apple Music. สืบค้นเมื่อ March 3, 2021.
  114. Blauvelt, Christian (March 25, 2011). "Lady Gaga hatches 'Country Road' version of 'Born This Way': Listen to it here!". Entertainment Weekly. สืบค้นเมื่อ March 3, 2021.