ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก
ฤดูกาล2567–68

ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68 หรือ ไฮลักซ์ รีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ รถกระบะโตโยต้า ไฮลักซ์ รีโว่ เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 28 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร

บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มี นครราชสีมา มาสด้า, หนองบัว พิชญ และระยอง เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2 ขึ้นมาเล่นในไทยลีกฤดูกาลนี้

กำหนดการ[แก้]

ตลาดซื้อ-ขายนักเตะ[แก้]

สโมสร[แก้]

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2566–67 และ 3 สโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–67 ได้แก่ นครราชสีมา มาสด้า และหนองบัว พิชญ ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาแบบอัตโนมัติจากการที่พวกเขาจบอันดับที่ 1 และ 2 ของตารางคะแนนตามลำดับ และระยอง ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาจากการชนะเลิศในรอบเพลย์ออฟ

สโมสรที่เข้าและออกจากไทยลีก[แก้]

ตกชั้นจากไทยลีก[แก้]

เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2[แก้]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 8
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) ทรูสเตเดียม 19,375 2
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 12
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 25,000 1 (ไทยลีก 2)
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) บีจีสเตเดียม 15,114 4
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 1
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 10
เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) ธันเดอร์โดมสเตเดียม 13,000 5
ระยอง ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 7,500 3 (ไทยลีก 2)
ราชบุรี ราชบุรี ดราก้อน โซลาร์ พาร์ค 10,000 6
ลำพูน วอร์ริเออร์ ลำพูน แม่กวงสเตเดียม 3,000 9
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ เชียงราย สเตเดียม 13,000 11
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 13
หนองบัว พิชญ หนองบัวลำภู พิชญสเตเดียม 6,000 2 (ไทยลีก 2)
อุทัยธานี อุทัยธานี สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี 4,477 7

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ ไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทย ธนา ชะนะบุตร
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย ธชตวัน ศรีปาน
นครปฐม ยูไนเต็ด สิงคโปร์ อักบาร์ นาบาซ อัมโบร
นครราชสีมา มาสด้า ไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล โอสมาร์ ลุส
พีที ประจวบ ไทย สะสม พบประเสริฐ
เมืองทอง ยูไนเต็ด อิตาลี จีโน เลตตีเอรี
ระยอง บราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา
ราชบุรี ไทย สุรพงษ์ คงเทพ
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล อาเลชังดรี กามา
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด สเปน ชาบี โมโร
สุโขทัย ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์
หนองบัว พิชญ ไทย สุกฤษฎ์ โยธี
อุทัยธานี ไทย จักรพันธ์ ปั่นปี
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไป ไม่เกิน 5 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของ เอเอฟซี ได้อีก 1 คน ส่วนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของอาเซียน สามารถขึ้นทะเบียนได้ไม่จำกัดจำนวน

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 ผู้เล่นรายที่ 4 ผู้เล่นรายที่ 5 ผู้เล่นเอเชีย ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 1 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 2 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 3 อดีตผู้เล่น
การท่าเรือ
ขอนแก่น ยูไนเต็ด
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
นครปฐม ยูไนเต็ด
นครราชสีมา มาสด้า
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
พีที ประจวบ
เมืองทอง ยูไนเต็ด
ระยอง
ราชบุรี
ลำพูน วอร์ริเออร์
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด
สุโขทัย
หนองบัว พิชญ
อุทัยธานี

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ระยอง ไทย พิภพ อ่อนโม้ แยกทาง 25 พฤษภาคม 2567[1] ก่อนเริ่มฤดูกาล บราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา 15 มิถุนายน 2567[2]
สุโขทัย ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ 26 พฤษภาคม 2567 ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 3 มิถุนายน 2567[3]
ราชบุรี สเปน การ์โลส เปญญา ไทย สุรพงษ์ คงเทพ 28 มิถุนายน 2567[4]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล แอแมร์ซง เปเรย์รา (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 6 มิถุนายน 2567 บราซิล โอสมาร์ ลุส 26 มิถุนายน 2567[5]
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล กาบรีแยล มากัลไยส์ แยกทาง สเปน ชาบี โมโร 7 กรกฎาคม 2567
เมืองทอง ยูไนเต็ด เซอร์เบีย มีลอช ยอกซิช 23 มิถุนายน 2567 อิตาลี จีโน เลตตีเอรี 6 กรกฎาคม 2567[6]
ไทย อุทัย บุญเหมาะ ปรับโครงสร้าง

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

แม่แบบ:ตารางคะแนนไทยลีก ฤดูกาล 2567–68

อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ชนะเลิศและได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2025–26 รอบแบ่งกลุ่ม
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2568–69
การแข่งขันจะเริ่มขึ้นในวันที่ ? อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

การแข่งขันจะเริ่มขึ้นในวันที่ ? อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้
  1. "พิภพ อ่อนโม้ บอกลา ระยอง เอฟซี อย่างเป็นทางการ". ballthai.com. 27 May 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  2. "ระยอง เอฟซี ตั้ง โค้ชคาร์ลอส คุมทัพลุยไทยลีก". siamsport.co.th. 15 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  3. "สุโขทัย เอฟซี ตั้ง อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ เป็นเฮดโค้ชคนใหม่". ballthai.com. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  4. "ทางการ! ราชบุรี เปิดตัว "โค้ชอั๋น-สุรพงษ์" นั่งกุนซือใหญ่คุมทัพ". siamsport.co.th. 28 June 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.
  5. "ออสมาร์ ลอสส์ แม่ทัพใหม่ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด". siamsport.co.th. 26 June 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.
  6. "ดีกรีเข้ม! เมืองทอง ตั้ง 'จิโน่ เล็ตติเอรี่' เป็นเฮดโค้ช". siamsport.co.th. 6 July 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.