ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8686740 โดย Potaptด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ปรับปรุงและเพิ่มเติมบทความ
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| image =
| image =
| image_caption =
| image_caption =
| image2 = File: Coronavirus 2019-nCoV.3.png
| image2_alt = Phyre2 ribbon diagram of 2019-nCoV protease as target for antiviral drugs developed by Innophore
| image2_caption = ภาพจำลองทำนาย[[โครงสร้างริบบอน]]ของเอนไซม์ [[:en:Protease#Viruses|protease]] ของ 2019-nCoV<br/>(โดย [[:en:Phyre2|Phyre2]]) ซึ่งเป็นเป้าหมายของ[[ยาต้านไวรัส]] ที่พัฒนาโดย Innophore
| virus_group = iv
| virus_group = iv
| ordo = ''[[:en:Nidovirales|Nidovirales]]''
| ordo = ''[[:en:Nidovirales|Nidovirales]]''
บรรทัด 9: บรรทัด 12:
| subfamilia = ''[[:en:Coronavirinae|Coronavirinae]]''
| subfamilia = ''[[:en:Coronavirinae|Coronavirinae]]''
| genus = ''[[:en:Betacoronavirus|Betacoronavirus]]''
| genus = ''[[:en:Betacoronavirus|Betacoronavirus]]''
| subgenus = [[:en:Sarbecovirus|''Sarbecovirus'']]<ref>{{cite web |title=Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses |url=https://nextstrain.org/groups/blab/sars-like-cov |website=nextstrain |accessdate=2020-01-18}}</ref><ref name=Hui14Jan2020>{{Cite journal|author1=Hui DS|author2= I Azhar E|author3= Madani TA|author4= Ntoumi F|display-authors= 3|title= The continuing 2019-nCoV epidemic threat of novel coronaviruses to global health – The latest 2019 novel coronavirus outbreak in Wuhan, China|work=Int J Infect Dis|date= 2020-01-14|issue=91|pages=264–266|pmid=31953166|doi=10.1016/j.ijid.2020.01.009|doi-access=free}}</ref><ref name="Wong2019">Antonio C. P. Wong, Xin Li, Susanna K. P. Lau, Patrick C. Y. Woo: [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6409556/ Global Epidemiology of Bat Coronaviruses], in: Viruses. 2019 Feb; 11(2): 174, [[doi:10.3390/v11020174]]</ref>
<!-- | subgenus = [[:en:Sarbecovirus|''Sarbecovirus'']]<ref>{{cite web |title=Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses |url=https://nextstrain.org/groups/blab/sars-like-cov |website=nextstrain |accessdate=2020-01-18}}</ref><ref name=Hui14Jan2020/><ref name="Wong2019">Antonio C. P. Wong, Xin Li, Susanna K. P. Lau, Patrick C. Y. Woo: [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6409556/ Global Epidemiology of Bat Coronaviruses], in: Viruses. 2019 Feb; 11(2): 174, [[doi:10.3390/v11020174]]</ref> -->
| type_species = Novel Coronavirus 2019
| type_species = Novel Coronavirus 2019
| synonyms =
| synonyms =
บรรทัด 23: บรรทัด 26:


== ประวัติการค้นพบ ==
== ประวัติการค้นพบ ==
ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สำนักงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการจากทางการจีนว่ามีกรณีของโรค[[ปอดบวม]]รุนแรงหลายกรณี ในเมือง[[อู่ฮั่น]]เกิดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากสาเหตุของการติดเชื้อที่ไม่เคยถูกตรวจพบมาก่อน เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563 มีรายงานผู้ป่วย 44 คนต่อองค์การอนามัยโลก ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยหนัก 11 รายและอีก 33 รายมีอาการทรงตัว ผู้ป่วยบางรายเป็นผู้ขายหรือผู้ค้าในตลาดขายส่งปลาและอาหารทะเลหวาหนาน ({{zh-all|s=华南海鲜批发市场|p=Huánán hǎixiān pīfā shìchǎng}}) ในเมืองอู่ฮั่น<ref>{{Cite web |url=https://www.who.int/csr/don/05-january-2020-pneumonia-of-unkown-cause-china/en/|title=Pneumonia of unknown cause – China|publisher=WHO|date=2020-01-05|accessdate=2020-01-14}}</ref> หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบได้ทำการปิดตลาดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 โฆษกขององค์การอนามัยโลก กล่าวในขณะนั้นว่ามีความเป็นไปได้ว่าแหล่งที่มาของการติดเชื้อจะพบได้ในตลาด ยังไม่พบการติดต่อจากคนสู่คน<ref>{{Cite web|url=https://www.scmp.com/news/china/society/article/3045770/world-health-organisation-links-china-virus-outbreak-single|title=Wuhan pneumonia: World Health Organisation links China virus outbreak to single seafood market in Wuhan and says it’s not spreading|publisher=South China Morning Post|date=2020-01-13|accessdate=2020-01-14}}</ref> การประกาศดังกล่าวดึงดูดความสนใจทั่วโลก เพราะเป็นการย้อนความทรงจำของโรคระบาด[[ซาร์ส]]ที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของจีนในปี พ.ศ. 2545-2546 ซึ่งมีผู้ติดเชื้อในเวลานั้นมากกว่า 700 คนทั่วโลก<ref>{{Cite web|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-china-50984025|title=China pneumonia outbreak: Mystery virus probed in Wuhan|publisher=BBC News|date=2020-01-03|accessdate=2020-01-14}}</ref>
ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สำนักงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการจากทางการจีนว่ามีกรณีของโรค[[ปอดบวม]]รุนแรงหลายกรณี ในเมือง[[อู่ฮั่น]]เกิดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากสาเหตุของการติดเชื้อที่ไม่เคยถูกตรวจพบมาก่อน เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563 มีรายงานผู้ป่วย 44 คนต่อองค์การอนามัยโลก ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยหนัก 11 รายและอีก 33 รายมีอาการทรงตัว ผู้ป่วยบางรายเป็นผู้ขายหรือผู้ค้าในตลาดขายส่งปลาและอาหารทะเลหฺวาหนาน ({{zh-all|s=华南海鲜批发市场|p=Huánán hǎixiān pīfā shìchǎng}}) ในเมืองอู่ฮั่น<ref>{{Cite web |url=https://www.who.int/csr/don/05-january-2020-pneumonia-of-unkown-cause-china/en/|title=Pneumonia of unknown cause – China|publisher=WHO|date=2020-01-05|accessdate=2020-01-14}}</ref> หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบได้ทำการปิดตลาดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 โฆษกขององค์การอนามัยโลก กล่าวในขณะนั้นว่ามีความเป็นไปได้ว่าแหล่งที่มาของการติดเชื้อจะพบได้ในตลาด ยังไม่พบการติดต่อจากคนสู่คน<ref>{{Cite web|url=https://www.scmp.com/news/china/society/article/3045770/world-health-organisation-links-china-virus-outbreak-single|title=Wuhan pneumonia: World Health Organisation links China virus outbreak to single seafood market in Wuhan and says it’s not spreading|publisher=South China Morning Post|date=2020-01-13|accessdate=2020-01-14}}</ref> การประกาศดังกล่าวดึงดูดความสนใจทั่วโลก เพราะเป็นการย้อนความทรงจำของโรคระบาด[[ซาร์ส]]ที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของจีนในปี พ.ศ. 2545-2546 ซึ่งมีผู้ติดเชื้อในเวลานั้นมากกว่า 700 คนทั่วโลก<ref>{{Cite web|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-china-50984025|title=China pneumonia outbreak: Mystery virus probed in Wuhan|publisher=BBC News|date=2020-01-03|accessdate=2020-01-14}}</ref>


เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิทยาไวรัสชาวจีน สูเจี้ยนกว๋อ ({{zh-all|s=徐建国|p=Xújiànguó}}) ซึ่งรับผิดชอบในการระบุชนิดไวรัสได้ประกาศว่าเชื้อโรคนั้นเป็นโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ ซึ่งเป็นผลจากการทดสอบตัวอย่างเลือดและสารคัดหลั่งในคอจากผู้ป่วย 15 ราย สิ่งนี้ได้รับการยืนยันในแถลงการณ์อย่างเป็นทางการจากองค์การอนามัยโลก ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2563<ref>{{Cite web|url=https://www.who.int/china/news/detail/09-01-2020-who-statement-regarding-cluster-of-pneumonia-cases-in-wuhan-china|title=WHO Statement Regarding Cluster of Pneumonia Cases in Wuhan, China|publisher=WHO|date=2020-01-09|accessdate=2020-01-14}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.rki.de/DE/Content/Infekt/Ausbrueche/respiratorisch/Pneumonien-China.html|title=Informationen des RKI zu Pneumonien durch ein neuartiges Coronavirus in Wuhan, China|publisher=Robert Koch Institut|date=2020-01-21|accessdate=2020-01-21|lang=German}}</ref> และในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ลำดับจีโนมที่สมบูรณ์ของโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ถูกบันทึกลงในฐานข้อมูล [[:en:National_Center_for_Biotechnology_Information|NCBI]] [[:en:GenBank|GenBank]] (หมายเลข GenBank MN908947)
เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิทยาไวรัสชาวจีน สูเจี้ยนกว๋อ ({{zh-all|s=徐建国|p=Xújiànguó}}) ซึ่งรับผิดชอบในการระบุชนิดไวรัสได้ประกาศว่าเชื้อโรคนั้นเป็นโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ ซึ่งเป็นผลจากการทดสอบตัวอย่างเลือดและสารคัดหลั่งในคอจากผู้ป่วย 15 ราย สิ่งนี้ได้รับการยืนยันในแถลงการณ์อย่างเป็นทางการจากองค์การอนามัยโลก ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2563<ref>{{Cite web|url=https://www.who.int/china/news/detail/09-01-2020-who-statement-regarding-cluster-of-pneumonia-cases-in-wuhan-china|title=WHO Statement Regarding Cluster of Pneumonia Cases in Wuhan, China|publisher=WHO|date=2020-01-09|accessdate=2020-01-14}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.rki.de/DE/Content/Infekt/Ausbrueche/respiratorisch/Pneumonien-China.html|title=Informationen des RKI zu Pneumonien durch ein neuartiges Coronavirus in Wuhan, China|publisher=Robert Koch Institut|date=2020-01-21|accessdate=2020-01-21|lang=German}}</ref> และในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ลำดับจีโนมที่สมบูรณ์ของโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ถูกบันทึกลงในฐานข้อมูล [[:en:National_Center_for_Biotechnology_Information|NCBI]] [[:en:GenBank|GenBank]] (หมายเลข GenBank MN908947)
บรรทัด 30: บรรทัด 33:
ข้อเสนอแนะในการตั้งชื่อ เพื่อตั้งชื่อไวรัสตามเมือง[[อู่ฮั่น]]ซึ่งเป็นสถานที่ที่ไวรัสได้รับการยืนยันครั้งแรกว่า โคโรนาไวรัสระบบทางเดินหายใจอู่ฮั่น (WRS-CoV) ไม่ได้รับการพิจารณา เหตุผลหนึ่งที่เป็นไปได้ที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญก็คือ การร้องเรียนในอดีตเมื่อไวรัสถูกตั้งชื่อตามแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (ตัวอย่างเช่น [[โคโรนาไวรัสสายพันธุ์กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]] MERS-CoV)<ref>{{Cite web |url=https://www.taiwannews.com.tw/en/news/3856862 |title=WHO declines to name new pneumonia after 'China' or 'Wuhan' |publisher=Taiwan News |author=Ching-Tse Cheng |date=2020-01-14 |accessdate=2020-01-14}}</ref> ข้อมูลไวรัสได้ถูกรวมอยู่ในฐานข้อมูล[[อนุกรมวิธาน]]ของ NCBI (ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับชื่อไวรัสและการจำแนกประเภท) ภายใต้ชื่อ Wuhan seafood market pneumonia virus<ref>{{Cite web |url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/Taxonomy/Browser/wwwtax.cgi?mode=Info&id=2697049&lvl=3 |title=Wuhan seafood market pneumonia virus |publisher=NCBI Taxonomy Browser |accessdate=2020-01-22}}</ref>
ข้อเสนอแนะในการตั้งชื่อ เพื่อตั้งชื่อไวรัสตามเมือง[[อู่ฮั่น]]ซึ่งเป็นสถานที่ที่ไวรัสได้รับการยืนยันครั้งแรกว่า โคโรนาไวรัสระบบทางเดินหายใจอู่ฮั่น (WRS-CoV) ไม่ได้รับการพิจารณา เหตุผลหนึ่งที่เป็นไปได้ที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญก็คือ การร้องเรียนในอดีตเมื่อไวรัสถูกตั้งชื่อตามแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (ตัวอย่างเช่น [[โคโรนาไวรัสสายพันธุ์กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]] MERS-CoV)<ref>{{Cite web |url=https://www.taiwannews.com.tw/en/news/3856862 |title=WHO declines to name new pneumonia after 'China' or 'Wuhan' |publisher=Taiwan News |author=Ching-Tse Cheng |date=2020-01-14 |accessdate=2020-01-14}}</ref> ข้อมูลไวรัสได้ถูกรวมอยู่ในฐานข้อมูล[[อนุกรมวิธาน]]ของ NCBI (ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับชื่อไวรัสและการจำแนกประเภท) ภายใต้ชื่อ Wuhan seafood market pneumonia virus<ref>{{Cite web |url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/Taxonomy/Browser/wwwtax.cgi?mode=Info&id=2697049&lvl=3 |title=Wuhan seafood market pneumonia virus |publisher=NCBI Taxonomy Browser |accessdate=2020-01-22}}</ref>


== วิทยาไวรัส ==
== สายวิวัฒนาการและอนุกรมวิธาน ==
=== สายวิวัฒนาการและอนุกรมวิธาน ===
[[ไฟล์: 2019-nCoV genome.svg |thumb |260px | สมมุติฐานโครงสร้างจีโนมของ<br/>2019-nCoV ([[:en:Open reading frame | Open reading frame]])]]
[[ไฟล์: 2019-nCoV genome.svg |thumb |260px | สมมุติฐานโครงสร้างจีโนมของ<br/>2019-nCoV ([[:en:Open reading frame | Open reading frame]])]]
2019-nCoV เป็นไวรัสในกลุ่มขนาดใหญ่ที่รู้จักกันในชื่อ [[โคโรนาไวรัส]] โตโรนาไวรัสอื่นมีความสามารถในการก่อให้เกิดความเจ็บป่วย ตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงโรคที่รุนแรงมากขึ้นเช่น [[โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]] (MERS) และ [[กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง]] (SARS) แต่มีเพียงหกชนิดก่อนหน้านี้เท่านั้นที่ติดเชื้อในมนุษย์ ทำให้ 2019-nCoV เป็นชนิดที่เจ็ด<ref name="NEJM">{{cite journal |last1=Zhu |first1=Na |last2=Zhang |first2=Dingyu |last3=Wang |first3=Wenling |last4=Li |first4=Xinwang |display-authors=3 |title=A Novel Coronavirus from Patients with Pneumonia in China, 2019 |journal=[[New England Journal of Medicine]] |date=24 January 2020 |volume=0 |doi=10.1056/NEJMoa2001017 |issn=0028-4793}}</ref>
การแยก Wuhan-Hu-1 (GenBank หมายเลข MN908947) จาก 2019-nCoV แสดงให้เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมากที่สุดกับโคโรนาไวรัสที่แยกได้จาก[[ค้างคาว]]จากประเทศจีน ซึ่งถูกวิเคราะห์ในปี พ.ศ. 2558 และ 2560<ref>{{Cite web|url=https://ncbiinsights.ncbi.nlm.nih.gov/2020/01/13/novel-coronavirus/|title=Novel coronavirus complete genome from the Wuhan outbreak now available in GenBank|publisher=NCBI Insights|date=2020-01-13|accessdate=2020-01-14}}</ref>แม้กระนั้นไวรัสชนิดนี้มีความแตกต่างทางพันธุกรรมจากโคโรนาไวรัสอื่น ๆ เช่นโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับ[[กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง]] (SARS)และโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับ[[โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]] (MERS)<ref name="MN908947">{{cite journal |last1=Zhang |first1=Y.-Z. |display-authors=etal |title=Wuhan seafood market pneumonia virus isolate Wuhan-Hu-1, complete genome |url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nuccore/MN908947 |website=GenBank |accessdate=13 January 2020 |location=Bethesda MD |date=12 January 2020}}</ref> ไวรัสชนิดนี้เป็นสมาชิกของสกุล Beta-CoV สาย B เช่นเดียวกับ SARS-CoV<ref>{{cite web |title=Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses |url=https://nextstrain.org/groups/blab/sars-like-cov |website=nextstrain |accessdate=18 January 2020}}</ref><ref name=Hui14Jan2020/> (ตัวอย่างเช่น ซับจีนัส Sarbecovirus<ref name="Wong2019">Antonio C. P. Wong, Xin Li, Susanna K. P. Lau, Patrick C. Y. Woo: [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6409556/ Global Epidemiology of Bat Coronaviruses], in: Viruses. 2019 Feb; 11(2): 174, [[doi:10.3390/v11020174]]</ref>) จีโนมจำนวนสิบแปดตัวอย่าง<ref>{{Cite web|url=https://nextstrain.org/ncov|title=Genomic epidemiology of novel coronavirus (nCoV) using data generated by Fudan University, China CDC, Chinese Academy of Medical Sciences, Chinese Academy of Sciences, Zhejiang Provincial Center for Disease Control and Prevention and the Thai National Institute of Health shared via GISAID|last=Trevor Bedford and Richard Neher|website=nextstrain.org|access-date=22 January 2020}}</ref> ของโคโรนาไวรัสใหม่ถูกแยกและรายงานรวมถึง BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-01/2019, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-04/2020, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-05/2019, BetaCoV/Wuhan/WIV04/2019 และ BetaCoV/Wuhan/IPBCAMS-WH-01/2019 ซึ่งรายงานโดยสถาบันแห่งชาติเพื่อการควบคุมและป้องกันโรคไวรัส ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่ง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ([[:en:Chinese_Center_for_Disease_Control_and_Prevention|CCDC]]; {{zh-all|s=中国疾病预防控制中心}}), สถาบันชีววิทยาก่อโรค และโรงพยาบาลอู่ฮั่นจินหวินถาน ({{zh-all|武汉市金银潭医院}})<ref>{{Cite web|url=http://virological.org/t/initial-genome-release-of-novel-coronavirus/319|title=Initial genome release of novel coronavirus|date=2020-01-11|website=Virological|access-date=2020-01-12}}</ref> ลำดับ[[อาร์เอ็นเอ]] ของไวรัสชนิดนี้มีความยาว[[นิวคลีโอไทด์]]ทั้งหมด 29,903 คู่เบส ประกอบด้วย 29,410 คู่เบส กับ 265 คู่เบสและ 228 คู่เบส ที่ไม่สามารถแปลได้บริเวณปลาย 5 'และ 3' ตามลำดับ สมมุติฐานพื้นที่สร้างรหัสของไวรัสแบ่งออกเป็น 10 ส่วน ประกอบด้วย ORF1ab โพลิโปรตีนยาว 7096 เบส, ไกลโคโปรตีนส่วนเปลือก (S) ยาว 1282 เบส, โปรตีนเอนเวลโลป (E) ยาว 75 เบส, ไกลโคโปรตีนเมมเบรน (M) ยาว 222 เบส, นิวคลีโอแคพซิด ฟอสโฟโปรตีน ยาว 419 เบส และยีนอีก 5 ส่วน (ORF3a, ORF6, ORF7a, ORF8 และ ORF10) ลำดับของยีนสอดคล้องกับไวรัสโรค[[ซาร์ส]]และ[[โคโรนาไวรัส]]ชนิดอื่นทั้งหมด<ref name="MN908947"/>


การแยก Wuhan-Hu-1 (GenBank หมายเลข MN908947) จาก 2019-nCoV แสดงให้เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมากที่สุดกับโคโรนาไวรัสที่แยกได้จาก[[ค้างคาว]]จากประเทศจีน ซึ่งถูกวิเคราะห์ในปี พ.ศ. 2558 และ 2560<ref>{{Cite web|url=https://ncbiinsights.ncbi.nlm.nih.gov/2020/01/13/novel-coronavirus/|title=Novel coronavirus complete genome from the Wuhan outbreak now available in GenBank|publisher=NCBI Insights|date=2020-01-13|accessdate=2020-01-14}}</ref>แม้กระนั้นไวรัสชนิดนี้มีความแตกต่างทางพันธุกรรมจากโคโรนาไวรัสอื่น ๆ เช่นโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับ[[กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง]] (SARS)และโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับ[[โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]] (MERS)<ref name="MN908947">{{cite journal |last1=Zhang |first1=Y.-Z. |display-authors=etal |title=Wuhan seafood market pneumonia virus isolate Wuhan-Hu-1, complete genome |url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nuccore/MN908947 |website=GenBank |accessdate=13 January 2020 |location=Bethesda MD |date=12 January 2020}}</ref> ไวรัสชนิดนี้เป็นสมาชิกของสกุล Beta-CoV สาย B เช่นเดียวกับ SARS-CoV<ref>{{cite web |title=Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses |url=https://nextstrain.org/groups/blab/sars-like-cov |website=nextstrain |accessdate=18 January 2020}}</ref><ref name=Hui14Jan2020>{{Cite journal|author1=Hui DS|author2= I Azhar E|author3= Madani TA|author4= Ntoumi F|display-authors= 3|title= The continuing 2019-nCoV epidemic threat of novel coronaviruses to global health – The latest 2019 novel coronavirus outbreak in Wuhan, China|work=Int J Infect Dis|date= 2020-01-14|issue=91|pages=264–266|pmid=31953166|doi=10.1016/j.ijid.2020.01.009|doi-access=free}}</ref> (ตัวอย่างเช่น ซับจีนัส Sarbecovirus<ref name="Wong2019">Antonio C. P. Wong, Xin Li, Susanna K. P. Lau, Patrick C. Y. Woo: [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6409556/ Global Epidemiology of Bat Coronaviruses], in: Viruses. 2019 Feb; 11(2): 174, [[doi:10.3390/v11020174]]</ref>) จีโนมจำนวนสิบแปดตัวอย่าง<ref>{{Cite web|url=https://nextstrain.org/ncov|title=Genomic epidemiology of novel coronavirus (nCoV) using data generated by Fudan University, China CDC, Chinese Academy of Medical Sciences, Chinese Academy of Sciences, Zhejiang Provincial Center for Disease Control and Prevention and the Thai National Institute of Health shared via GISAID|last=Trevor Bedford and Richard Neher|website=nextstrain.org|access-date=22 January 2020}}</ref> ของโคโรนาไวรัสใหม่ถูกแยกและรายงานรวมถึง BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-01/2019, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-04/2020, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-05/2019, BetaCoV/Wuhan/WIV04/2019 และ BetaCoV/Wuhan/IPBCAMS-WH-01/2019 ซึ่งรายงานโดยสถาบันแห่งชาติเพื่อการควบคุมและป้องกันโรคไวรัส ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่ง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ([[:en:Chinese_Center_for_Disease_Control_and_Prevention|CCDC]]; {{zh-all|s=中国疾病预防控制中心}}), สถาบันชีววิทยาก่อโรค และโรงพยาบาลอู่ฮั่นจินหวินถาน ({{zh-all|武汉市金银潭医院}})<ref>{{Cite web|url=http://virological.org/t/initial-genome-release-of-novel-coronavirus/319|title=Initial genome release of novel coronavirus|date=2020-01-11|website=Virological|access-date=2020-01-12}}</ref> ลำดับ[[อาร์เอ็นเอ]] ของไวรัสชนิดนี้มีความยาว[[นิวคลีโอไทด์]]ทั้งหมด 29,903 คู่เบส ประกอบด้วย 29,410 คู่เบส กับ 265 คู่เบสและ 228 คู่เบส ที่ไม่สามารถแปลได้บริเวณปลาย 5 'และ 3' ตามลำดับ สมมุติฐานพื้นที่สร้างรหัสของไวรัสแบ่งออกเป็น 10 ส่วน ประกอบด้วย ORF1ab โพลิโปรตีนยาว 7096 เบส, ไกลโคโปรตีนส่วนเปลือก (S) ยาว 1282 เบส, โปรตีนเอนเวโลป (E) ยาว 75 เบส, ไกลโคโปรตีนเมมเบรน (M) ยาว 222 เบส, นิวคลีโอแคปซิด ฟอสโฟโปรตีน ยาว 419 เบส และยีนอีก 5 ส่วน (ORF3a, ORF6, ORF7a, ORF8 และ ORF10) ลำดับของยีนสอดคล้องกับไวรัสโรค[[ซาร์ส]]และ[[โคโรนาไวรัส]]ชนิดอื่นทั้งหมด<ref name="MN908947"/>
== กลไกการเข้าสู่เซลล์ ==

การถอดรหัส[[จีโนม]]ของไวรัสได้นำไปสู่การทดลองสร้างแบบจำลองโปรตีนหลายอย่างเพื่อจับกับโปรตีนตัวรับ (RBD) ของโปรตีน nCoV สไปค์ (S) ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิจัยชาวจีนสองคณะเชื่อว่าโปรตีนสไปค์ มีความเป็นไปได้ที่สัมพันธ์กับตัวรับ SARS (เอนไซม์ angiotensin-converting enzyme 2, ACE2) เพื่อใช้เป็นกลไกในการเข้าสู่[[เซลล์]]<ref>{{cite journal |title=Evolution of the novel coronavirus from the ongoing Wuhan outbreak and modeling of its spike protein for risk of human transmission |journal=SCIENCE CHINA Life Sciences |doi=10.1007/s11427-020-1637-5 |url=http://engine.scichina.com/publisher/scp/journal/SCLS/doi/10.1007/s11427-020-1637-5 |accessdate=23 January 2020}}</ref> จากหลักฐานการเรืองแสงในงานวิจัยของ Shi ZL และคณะ เกือบจะเป็นที่แน่นอนว่า 2019-nCoV ใช้ ACE2 เป็นตัวรับ <ref>{{cite journal |last1=Gralinski |first1=Lisa E. |last2=Menachery |first2=Vineet D. |title=Return of the Coronavirus: 2019-nCoV |journal=Viruses |date=2020 |volume=12 |issue=2 |pages=135 |doi=10.3390/v12020135 |url=https://www.mdpi.com/1999-4915/12/2/135 |accessdate=24 January 2020}}</ref>
=== กลไกการเข้าสู่เซลล์ ===
การถอดรหัส[[จีโนม]]ของไวรัสได้นำไปสู่การทดลองสร้างแบบจำลองโปรตีนหลายอย่างเพื่อจับกับโปรตีนตัวรับ (RBD) ของโปรตีน nCoV สไปก์ (S) ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิจัยชาวจีนสองคณะเชื่อว่าโปรตีนสไปก์ มีความเป็นไปได้ที่สัมพันธ์กับตัวรับ SARS (เอนไซม์ angiotensin-converting enzyme 2, ACE2) เพื่อใช้เป็นกลไกในการเข้าสู่[[เซลล์]]<ref>{{cite journal |title=Evolution of the novel coronavirus from the ongoing Wuhan outbreak and modeling of its spike protein for risk of human transmission |journal=SCIENCE CHINA Life Sciences |doi=10.1007/s11427-020-1637-5 |url=http://engine.scichina.com/publisher/scp/journal/SCLS/doi/10.1007/s11427-020-1637-5 |accessdate=23 January 2020}}</ref> ในวันที่ 22 มกราคม กลุ่มในประเทศจีนที่ทำงานกับไวรัสโดยสมบูรณ์ และกลุ่มในสหรัฐอเมริกาที่ทำงานกับพันธุศาสตร์ย้อนกลับ แสดงผลการทดลองให้เห็นโดยอิสระว่า ACE2 เป็นตัวรับสำหรับ 2019-nCoV<ref>{{cite journal |last1=Letko |first1=Michael |last2=Munster |first2=Vincent |date=22 January 2020 |title=Functional assessment of cell entry and receptor usage for lineage B β-coronaviruses, including 2019-nCoV |url= https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.22.915660v1 |journal=BiorXiv |doi=10.1101/2020.01.22.915660 |accessdate=24 January 2020}}</ref><ref>{{cite journal |last1=Zhou |first1=Peng |last2=Shi |first2=Zheng-Li |date=2020 |title=Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin |url=https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.22.914952v2 |journal=BiorXiv |doi=10.1101/2020.01.22.914952 |accessdate=24 January 2020}}</ref><ref>{{cite journal |last1=Gralinski |first1=Lisa E. |last2=Menachery |first2=Vineet D. |date=2020 |title=Return of the Coronavirus: 2019-nCoV |journal=Viruses |volume=12 |issue=2 |pages=135 |doi=10.3390/v12020135}}</ref>

เพื่อค้นหายาที่มีศักยภาพในการรักษา โปรตีเอส M(pro) ของไวรัสถูกนำมาสร้างแบบจำลองสำหรับการทดลองเชื่อมต่อกับยา ทีมวิจัยจาก Innophore ผลิตแบบจำลองการคำนวณสองรูปแบบโดยใช้โปรตีเอสของซาร์ส [43] และสถาบันวิทยาศาสตร์จีน ({{zh-all|中国科学院}}) ได้สร้างโครงสร้างทดลองของรีคอมบิแนนต์โปรตีเอสของ 2019-nCoV

=== การติดต่อ ===
การติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้รับการยืนยันในมณฑล[[กวางตุ้ง]]ประเทศจีน ตามการแถลงของ จง หนานชาน ({{zh-all|s=钟南山}}) หัวหน้าคณะกรรมาธิการสาธารณสุขซึ่งได้ทำการสอบสวนการระบาด<ref>{{Cite news|url=https://www.cbc.ca/news/health/coronavirus-human-to-human-1.5433187|title=China confirms human-to-human transmission of new coronavirus|date=20 January 2020|publisher=CBC News|access-date=21 January 2020}}</ref> พบการติดเชื้อไวรัสแม้ในช่วงระยะฟักตัว<ref name=latent>{{cite news |title=【武漢肺炎】衛健委︰新型冠狀病毒傳播力增強 潛伏期最短僅1天 |url=https://news.mingpao.com/ins/%E5%85%A9%E5%B2%B8/article/20200126/s00004/1580028707559/%E3%80%90%E6%AD%A6%E6%BC%A2%E8%82%BA%E7%82%8E%E3%80%91%E8%A1%9B%E5%81%A5%E5%A7%94-%E6%96%B0%E5%9E%8B%E5%86%A0%E7%8B%80%E7%97%85%E6%AF%92%E5%82%B3%E6%92%AD%E5%8A%9B%E5%A2%9E%E5%BC%B7-%E6%BD%9B%E4%BC%8F%E6%9C%9F%E6%9C%80%E7%9F%AD%E5%83%851%E5%A4%A9 |work=明報新聞網}}</ref><ref>[https://news.163.com/20/0126/16/F3R33UL80001899O.html 专家:病毒潜伏期有传染性 有人传染同事后才发病]</ref> ไวรัสได้รับการประเมิน[[ค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐาน]] (''R{{sub|0}}'') ระหว่าง 3 ถึง 5<ref>{{Cite journal|last=Zhao|first=Shi|last2=Ran|first2=Jinjun|last3=Musa|first3=Salihu Sabiu|last4=Yang|first4=Guangpu|last5=Lou|first5=Yijun|last6=Gao|first6=Daozhou|last7=Yang|first7=Lin|last8=He|first8=Daihai|date=2020-01-24|title=Preliminary estimation of the basic reproduction number of novel coronavirus (2019-nCoV) in China, from 2019 to 2020: A data-driven analysis in the early phase of the outbreak|url=https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.23.916395v1|journal=bioRxiv|pages=2020.01.23.916395|doi=10.1101/2020.01.23.916395}}</ref> หมายความว่าโดยทั่วไปจะมีผู้ติดเชื้อ 3 ถึง 5 คนต่อสถานการณ์การติดเชื้อ กลุ่มวิจัยอื่น ๆ ได้ประมาณจำนวนค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐานระหว่าง 1.4 และ 3.8 ซึ่งได้รับการยอมรับว่าไวรัสสามารถส่งผ่านห่วงโซ่ของคนอย่างน้อยสี่คน<ref name=Saey24Jan2020>{{Cite web|url=https://www.sciencenews.org/article/how-new-wuhan-coronavirus-stacks-up-against-sars-mers|title=How the new coronavirus stacks up against SARS and MERS|first=Tina Hesman|last=Saey|date=24 January 2020|access-date=25 January 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200125064423/https://www.sciencenews.org/article/how-new-wuhan-coronavirus-stacks-up-against-sars-mers|archive-date=25 January 2020}}</ref> เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดต่อไปการแพร่เชื้อจะต้องลดลงมากถึง 60% โดยมาตรการที่เหมาะสม จำนวนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตที่พิสูจน์แล้วก่อนหน้านี้ส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 2.9% (80/2744) อัตราการเสียชีวิตที่แท้จริงสามารถต่ำกว่า (กรณีที่มีอาการน้อยหรือไม่มีเลยยังไม่ถูกค้นพบ) และสูงกว่า (มีผู้ป่วยที่ยืนยัน 461 รายอยู่ในภาวะวิกฤต จาก 2744 รายหรือ 16.8% ) ปัจจุบันระยะฟักตัวอยู่ระหว่าง 1 ถึง 14 วันจึงคล้ายคลึงกับโรคซาร์สอย่างมาก<ref name=":0" /><ref>[https://www.focus.de/gesundheit/news/coronavirus-ausbruch-im-news-ticker-zahlreiche-tote-zahl-der-infizierten-steigt-an-einem-tag-um-700_id_11576018.html Coronavirus-Ausbruch im News-Ticker]. Focus, 27. January 2020. (in German)</ref> (ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563)

=== แหล่งรังโรค ===
มีข้อสงสัยว่าสัตว์ที่ขายเป็นอาหารนั้นจะเป็นแหล่งรังโรคหรือเป็นพาหะ เพราะผู้ติดเชื้อรายแรกที่ยืนยันเป็นคนงานในตลาดอาหารทะเลหฺวาหนาน พวกเขาจึงต้องสัมผัสกับสัตว์จำนวนมาก<ref name="Hui14Jan2020" /> ตลาดขายสัตว์ที่มีชีวิตเป็นอาหาร ก็ถูกตำหนิในการแพร่ระบาดของโรคซาร์สในปี พ.ศ. 2546 ตลาดเช่นนี้ถือว่าเป็นศูนย์บ่มเพาะที่สมบูรณ์แบบสำหรับเชื้อโรคที่แปลกใหม่<ref>{{Cite news|url=https://www.nytimes.com/2020/01/25/world/asia/china-markets-coronavirus-sars.html|title=China’s Omnivorous Markets Are in the Eye of a Lethal Outbreak Once Again|last=Myers|first=Steven Lee|date=January 25, 2020|work=The New York Times}}</ref>

ด้วยจำนวนที่เพียงพอของข้อมูลลำดับจีโนม เป็นไปได้ที่จะสร้างแผนภาพต้นไม้[[วิวัฒนาการชาติพันธุ์]]ของประวัติการกลายพันธุ์ของตระกูลไวรัส ในช่วง 17 ปีของการวิจัยเกี่ยวกับต้นกำเนิดของการแพร่ระบาดของโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 โคโรนาไวรัสจาก[[ค้างคาว]]ที่มีลักษณะคล้ายโรคซาร์สจำนวนมากได้ถูกแยกและเรียงลำดับจีโนม โคโรนาไวรัสจากอู่ฮั่นพบว่าตกอยู่ในประเภทของ โคโรนาไวรัสที่เกี่ยวข้องกับโรคซาร์ส ลำดับจีโนมสองลำดับจาก "ค้างคาวเกือกม้าจีน ''Rhinolophus sinicus''" ที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2560 แสดงความคล้ายคลึงกันถึง 80% กับ 2019-nCoV<ref>Sample [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nuccore/MG772933 CoVZC45] and [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nuccore/MG772934 CoVZXC21], see [https://nextstrain.org/groups/blab/sars-like-cov there for an interactive visualisation]</ref><ref>{{cite journal|title=The 2019 new Coronavirus epidemic: evidence for virus evolution|url=https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.24.915157v1}}</ref> จีโนมไวรัสที่ไม่ถูกตีพิมพ์ตัวอย่างที่สามจาก "ค้างคาวเกือกม้ากลาง ''Rhinolophus affinis''" มีความคล้ายคลึงกับของ 2019-nCoV ถึง 96% ได้ถูกบันทึกเป็นข้อสังเกตเช่นกัน<ref name="bioRxivBatOrigin">{{cite journal |title=Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin |url= https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.22.914952v2 |author=Wuhan Institue of Virology |publisher=[[bioRxiv]] |accessdate=24 January 2020 |date=23 January 2020}}</ref> สำหรับการเปรียบเทียบจำนวนของการแปรผันของไวรัสนี้ มีความคล้ายคลึงกับปริมาณการกลายพันธุ์ที่สังเกตได้นานกว่าสิบปีในเชื้อไวรัส[[ไข้หวัดใหญ่#ชนิดของไวรัส|ไข้หวัดใหญ่]]สายพันธุ์ H3N2<ref>{{Cite web|url=https://nextstrain.org/flu/seasonal/h3n2/ha/2y?clade=3c3|title=auspice|website=nextstrain.org}}</ref>


== พยาธิวิทยาคลินิก ==
== พยาธิวิทยาคลินิก ==
=== อาการที่แสดงออกทางคลินิก ===
=== อาการที่แสดงออกทางคลินิก ===
มีรายงานว่ากรณีผู้ป่วยมีอาการไข้ 90%<ref name=Hui14Jan2020/> มีอาการอ่อนเพลียและไอแห้ง 80%<ref name=Hui14Jan2020/><ref name="wmhc2020-01-11">{{cite web|url=http://wjw.wuhan.gov.cn/front/web/showDetail/2020011109036|title=Experts explain the latest bulletin of unknown cause of viral pneumonia|date=11 January 2020|website=Wuhan Municipal Health Commission|access-date=11 January 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200111031745/http://wjw.wuhan.gov.cn/front/web/showDetail/2020011109036|archive-date=11 January 2020}}</ref> และหายใจถี่ 20% โดยหายใจลำบาก 15%<ref name="wmhc2020-01-11"/> การถ่ายภาพรังสีเอกซ์ช่องอกได้แสดงสัญญาณในปอดทั้งสองข้าง โดยทั่วไปแล้ว[[สัญญาณชีพ]]นั้นมีความเสถียรในเวลาที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล<ref name="wmhc2020-01-11"/> ผลตรวจเลือดมีจำนวนเม็ดเลือดขาวต่ำ ([[:en:leukopenia|leucopenia]] และ [[:en:lymphocytopenia|lymphopenia]])<ref name=Hui14Jan2020/>
มีรายงานว่ากรณีผู้ป่วยมีอาการไข้ 90%<ref name=Hui14Jan2020/> มีอาการอ่อนเพลียและไอแห้ง 80%<ref name=Hui14Jan2020/><ref name="wmhc2020-01-11">{{cite web|url=http://wjw.wuhan.gov.cn/front/web/showDetail/2020011109036|title=Experts explain the latest bulletin of unknown cause of viral pneumonia|date=11 January 2020|website=Wuhan Municipal Health Commission|access-date=11 January 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200111031745/http://wjw.wuhan.gov.cn/front/web/showDetail/2020011109036|archive-date=11 January 2020}}</ref> และหายใจถี่ 20% โดยหายใจลำบาก 15%<ref name="wmhc2020-01-11"/> [[การถ่ายภาพรังสีทรวงอก|การถ่ายภาพรังสีเอกซ์ช่องอก]]ได้แสดงสัญญาณในปอดทั้งสองข้าง ซึ่งสามารถนำไปสู่อาการปอดบวม ไตวาย และเสียชีวิตจากการติดเชื้อรุนแรง<ref>{{Cite web|url=https://www.who.int/news-room/q-a-detail/q-a-coronaviruses|title=Q&A on coronaviruses|website=www.who.int|language=en|access-date=2020-01-27}}</ref> ในแถลงการณ์เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นาย Tedros Adhanom Ghebreyesus ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลกระบุว่า หนึ่งในสี่ของผู้ที่ติดเชื้อนั้นมีอาการหนัก และหลายรายที่เสียชีวิตมีอาการอื่นที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่นความดันโลหิตสูง, เบาหวาน หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ<ref>{{Cite web|url=https://www.who.int/dg/speeches/detail/who-director-general-s-statement-on-the-advice-of-the-ihr-emergency-committee-on-novel-coronavirus|title=WHO Director-General's statement on the advice of the IHR Emergency Committee on Novel Coronavirus|website=www.who.int}}</ref> โดยทั่วไปแล้ว[[สัญญาณชีพ]]นั้นมีความเสถียรในเวลาที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล<ref name="wmhc2020-01-11"/> ผลตรวจเลือดมีจำนวนเม็ดเลือดขาวโดยรวมต่ำ ([[:en:leukopenia|leucopenia]]) โดยเฉพาะเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ต่ำ ([[:en:lymphocytopenia|lymphopenia]]) <ref name=Hui14Jan2020/>


=== วิธีการตรวจสอบ ===
=== การติดต่อ ===
ไวรัสสามารถตรวจพบได้โดยตรงโดยใช้[[ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบย้อนกลับ]] (RT-PCR) (จากเสมหะ, สารคัดหลั่งจากหลอดลม, น้ำล้างหลอดลม, การเก็บสิ่งส่งตรวจป้ายโพรงจมูก) สำหรับผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคปอดอักเสบและอยู่ในพื้นที่เสี่ยง 14 วันก่อนการระบาดของโรค และสำหรับผู้ที่มีอาการซึ่งเคยติดต่อกับผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันแล้ว
การติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้รับการยืนยันในมณฑล[[กวางตุ้ง]]ประเทศจีน ตามการแถลงของ จง หนานชาน ({{zh-all|s=钟南山}}) หัวหน้าคณะกรรมาธิการสาธารณสุขซึ่งได้ทำการสอบสวนการระบาด<ref>{{Cite news|url=https://www.cbc.ca/news/health/coronavirus-human-to-human-1.5433187|title=China confirms human-to-human transmission of new coronavirus|date=20 January 2020|publisher=CBC News|access-date=21 January 2020}}</ref>
เป็นวิธีการที่แนะนำ จนกว่าจะมีการพัฒนาวิธีการตรวจจับทางอ้อม (การตรวจหาแอนติบอดี) และแนะนำให้เก็บซีรัมจากผู้ป่วยด้วย<ref>{{Cite web|url=https://www.rki.de/DE/Content/InfAZ/N/Neuartiges_Coronavirus/nCoV_Verdachtsabklaerung_Massnahmen.pdf?__blob=publicationFile|title= 2019-nCoV: Verdachtsabklärung und Maßnahmen - Orientierungshilfe für Ärztinnen und Ärzte|publisher=Robert-Koch-Institut|date=23 January 2020|accessdate=26 January 2020|lang=German}}</ref> (ณ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2563)


=== การรักษา ===
=== การรักษา ===
ไม่มีการรักษาที่เฉพาะเจาะจงสำหรับไวรัสในขณะนี้ แต่สามารถพิจารณาการใช้ยาแอนตีไวรัสที่มีอยู่แล้ว<ref>{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-china-health-pneumonia-who/who-says-new-china-coronavirus-could-spread-warns-hospitals-worldwide-idUSKBN1ZD16J |title=WHO says new China coronavirus could spread, warns hospitals worldwide|date=14 January 2020|work=Reuters – World news}}</ref>
ไม่มีการรักษาที่เฉพาะเจาะจงสำหรับไวรัสในขณะนี้ แต่สามารถพิจารณาการใช้ยาแอนตีไวรัสที่มีอยู่แล้ว<ref>{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-china-health-pneumonia-who/who-says-new-china-coronavirus-could-spread-warns-hospitals-worldwide-idUSKBN1ZD16J |title=WHO says new China coronavirus could spread, warns hospitals worldwide|date=14 January 2020|work=Reuters – World news}}</ref> ซึ่งรวมถึง ตัวยับยั้งเอนไซม์โปรตีเอส อย่างเช่น [[อินดินาเวียร์]], [[ซาควินาเวียร์]], Remedesivir, โลปินาเวียร์/ริโทนาเวียร์ และ [[อินเตอร์เฟียรอน]] - เบตา<ref name=Pau2020>{{cite journal |last1=Paules |first1=Catharine I. |last2=Marston |first2=Hilary D. |last3=Fauci |first3=Anthony S. |title=Coronavirus Infections—More Than Just the Common Cold |journal=JAMA |date=2020-01-23|doi=10.1001/jama.2020.0757|pmid=31971553 }}</ref><ref name="cas-dock">{{cite web |title=上海药物所和上海科技大学联合发现一批可能对新型肺炎有治疗作用的老药和中药 |language=Chinese |location=People's Republic of China |url=http://www.cas.cn/syky/202001/t20200125_4732909.shtml |publisher=Chinese Academy of Sciences |date=2020-01-25}}</ref>

== การวิจัยวัคซีน ==
ในเดือนมกราคมพ.ศ. 2563 หลายองค์กรและสถาบันเริ่มต้นในการสร้าง[[วัคซีน]]สำหรับโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 ตามรหัสจีโนมที่ตีพิมพ์เผยแพร่<ref name="ThomReut_NIH_Moderna_3months" >{{Cite web|author1=Steenhuysen, Julie|author2= Kelland, Kate|date=24 January 2020|url=https://www.reuters.com/article/us-china-health-vaccines-idUSKBN1ZN2J8|title=With Wuhan virus genetic code in hand, scientists begin work on a vaccine|work=Thomson Reuters|archive-url=https://web.archive.org/web/20200125203723/https://www.reuters.com/article/us-china-health-vaccines-idUSKBN1ZN2J8|archive-date=25 January 2020|accessdate=25 January 2020}}</ref><ref name="CBC_Saskatch_6_8_weeks_nonhuman">{{Cite web|title=Saskatchewan lab joins global effort to develop coronavirus vaccine|url=https://www.cbc.ca/news/canada/saskatchewan/vido-intervac-working-on-coronavirus-vaccine-1.5439118|publisher=Canadian Broadcasting Corporation|date=24 January 2020|archive-url=http://archive.ph/jYfcU|archive-date=25 January 2020|accessdate=25 January 2020}}</ref>

โครงการวัคซีนสามโครงการได้รับการสนับสนุนจาก Coalition for Epidemic Preparedness Innovations (CEPI) รวมถึงโครงการโดย บริษัท เทคโนโลยีชีวภาพ Moderna และอีกโครงการหนึ่งโดยมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์<ref name="Guardian_CEPI_16weeks" />[[สถาบันสุขภาพแห่งชาติ_(สหรัฐอเมริกา)|สถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐอเมริกา]] (NIH) กำลังร่วมมือกับ Moderna ในการสร้างวัคซีนอาร์เอ็นเอที่ตรงกับสไปก์บนผิวของโคโรนาไวรัส และหวังว่าจะเริ่มการผลิตได้ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563<ref name="ThomReut_NIH_Moderna_3months" /> ใน[[ออสเตรเลีย]] มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์กำลังตรวจสอบศักยภาพของวัคซีนจับยึดโมเลกุลที่จะดัดแปลงโปรตีนของไวรัส เพื่อสร้างเลียนแบบโคโรนาไวรัสและกระตุ้นปฏิกิริยา[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]<ref name="Guardian_CEPI_16weeks">{{Cite web|author=Devlin, Hannah|date=24 January 2020|title=Lessons from Sars outbreak help in race for coronavirus vaccine|url=https://www.theguardian.com/science/2020/jan/24/lessons-from-sars-outbreak-help-in-race-for-coronavirus-vaccine|work=The Guardian|archive-url=https://web.archive.org/web/20200125203322/https://www.theguardian.com/science/2020/jan/24/lessons-from-sars-outbreak-help-in-race-for-coronavirus-vaccine|archive-date=25 January 2020|accessdate=25 January 2020}}</ref>

ในโครงการที่เป็นอิสระ หน่วยงานสาธารณสุขของ[[แคนาดา]]ได้อนุญาตให้หน่วยงานวัคซีนและโรคติดเชื้อ (VIDO-InterVac) ที่มหาวิทยาลัยซัสแคตเชวัน เริ่มทำงานกับวัคซีน<ref>{{Cite web|url=https://ca.news.yahoo.com/saskatchewan-lab-joins-global-effort-090415232.html|title=Saskatchewan lab joins global effort to develop coronavirus vaccine|website=ca.news.yahoo.com}}</ref> VIDO-InterVac มีจุดมุ่งหมายเพื่อเริ่มการผลิตและทดสอบในสัตว์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 และทดสอบในมนุษย์ในปี พ.ศ. 2564<ref name="CBC_Saskatch_6_8_weeks_nonhuman" />


== วิทยาการระบาด ==
== วิทยาการระบาด ==
[[ไฟล์: 2019-nCoV in China.svg | thumb | จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน<br/>แบ่งตามมณฑลในประเทศจีน]]
[[ไฟล์: 2019-nCoV in China.svg | thumb | จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน<br/>แบ่งตามมณฑลในประเทศจีน]]
[[ไฟล์: 2019-nCoV Cases.svg | thumb | จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน<br/>แบ่งตามประเทศ]]
[[ไฟล์: 2019-nCoV Cases.svg | thumb | จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน<br/>แบ่งตามประเทศ]]
{{หลัก|การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2562–63}}
{{หลัก|การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2562–2563}}
การระบาดของโรคที่เป็นที่ทราบกันเพียงแห่งเดียวถูกโยงไปยังตลาดอาหารทะเลหวาหนาน ในอู่ฮั่นประเทศจีน ในเวลาต่อมาไวรัสแพร่กระจายไปยังกรุงเทพมหานคร, โตเกียว, โซล, ปักกิ่ง, เซี่ยงไฮ้, กวางตุ้ง, อำเภอต้าหยวน ({{zh-all|大園區}} ในไต้หวัน), ฮ่องกง<ref>{{cite news |title=China coronavirus: Hong Kong widens criteria for suspected cases after second patient confirmed, as MTR cancels Wuhan train ticket sales|url=https://www.scmp.com/news/hong-kong/health-environment/article/3047310/china-coronavirus-hong-kong-widens-criteria|newspaper=South China Morning Post |accessdate=23 January 2020|date=23 January 2020 }}</ref>, มาเก๊า, เอเวอเรตต์ [[รัฐวอชิงตัน]] สหรัฐอเมริกา<ref>{{cite news |title=China Virus Spreads to U.S. With Health Officials on High Alert|url=https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-01-21/china-virus-s-spread-puts-global-health-officials-on-high-alert |publisher=Bloomberg L.P. |accessdate=21 January 2020|date=21 January 2020 }}</ref>, เวียดนาม<ref>{{Cite web|url=https://www.straitstimes.com/asia/se-asia/vietnam-confirms-two-cases-of-sars-like-coronavirus|title=Wuhan virus: Vietnam confirms 2 cases of Sars-like coronavirus|last=hermesauto|date=23 January 2020|website=The Straits Times|access-date=23 January 2020}}</ref> และสิงคโปร์<ref>{{Cite web|url=https://www.straitstimes.com/singapore/health/singapore-confirms-first-case-of-wuhan-virus|title=Singapore confirms first case of Wuhan virus|last=hermesauto|date=23 January 2020|website=The Straits Times|language=en|access-date=23 January 2020}}</ref> นักวิทยาศาสตร์ที่ Medical Research Council's Centre for Global Infectious Disease Analysis ที่[[วิทยาลัยอิมพีเรียล]]ลอนดอน ประมาณว่ามี 4,000 คนติดเชื้อโคโรนาไวรัสในเมืองอู่ฮั่น<ref name="BBC">[https://www.bbc.com/news/world-asia-china-51217455 BBC: China coronavirus: Fear grips Wuhan as lockdown begins]</ref> จำนวนผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็น 26 รายในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2563<ref>{{Cite news|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-china-51230011|title=Virus deaths rise as more cities restrict travel|date=2020-01-24|work=BBC News|access-date=2020-01-24}}</ref>
การระบาดของโรคที่เป็นที่ทราบกันเพียงแห่งเดียวถูกโยงไปยังตลาดอาหารทะเลหวาหนาน ในอู่ฮั่นประเทศจีน ในเวลาต่อมาไวรัสแพร่กระจายไปยังกรุงเทพมหานคร, โตเกียว, โซล, ปักกิ่ง, เซี่ยงไฮ้, กวางตุ้ง, อำเภอต้าหยวน ({{zh-all|大園區}}) ในไต้หวัน, ฮ่องกง<ref>{{cite news |title=China coronavirus: Hong Kong widens criteria for suspected cases after second patient confirmed, as MTR cancels Wuhan train ticket sales|url=https://www.scmp.com/news/hong-kong/health-environment/article/3047310/china-coronavirus-hong-kong-widens-criteria|newspaper=South China Morning Post |accessdate=23 January 2020|date=23 January 2020 }}</ref>, มาเก๊า, เอเวอเรตต์ [[รัฐวอชิงตัน]] สหรัฐอเมริกา<ref>{{cite news |title=China Virus Spreads to U.S. With Health Officials on High Alert|url=https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-01-21/china-virus-s-spread-puts-global-health-officials-on-high-alert |publisher=Bloomberg L.P. |accessdate=21 January 2020|date=21 January 2020 }}</ref>, เวียดนาม<ref>{{Cite web|url=https://www.straitstimes.com/asia/se-asia/vietnam-confirms-two-cases-of-sars-like-coronavirus|title=Wuhan virus: Vietnam confirms 2 cases of Sars-like coronavirus|last=hermesauto|date=23 January 2020|website=The Straits Times|access-date=23 January 2020}}</ref> และสิงคโปร์<ref>{{Cite web|url=https://www.straitstimes.com/singapore/health/singapore-confirms-first-case-of-wuhan-virus|title=Singapore confirms first case of Wuhan virus|last=hermesauto|date=23 January 2020|website=The Straits Times|language=en|access-date=23 January 2020}}</ref> นักวิทยาศาสตร์ที่ Medical Research Council's Centre for Global Infectious Disease Analysis ที่[[วิทยาลัยอิมพีเรียล]]ลอนดอน ประมาณว่ามี 4,000 คนติดเชื้อโคโรนาไวรัสในเมืองอู่ฮั่น<ref name="BBC">[https://www.bbc.com/news/world-asia-china-51217455 BBC: China coronavirus: Fear grips Wuhan as lockdown begins]</ref>


=== ลำดับเหตุการณ์ ===
=== ลำดับเหตุการณ์ ===
บรรทัด 95: บรรทัด 119:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2562–63]]
* [[การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2562–2563]]
* [[โคโรนาไวรัส]]
* [[โคโรนาไวรัส]]
* [[กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง]]
* [[กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง]]
บรรทัด 106: บรรทัด 130:
{{วิกิพจนานุกรมอังกฤษ|Wuhan pneumonia}}
{{วิกิพจนานุกรมอังกฤษ|Wuhan pneumonia}}
*{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|2019-nCoV}}
*{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|2019-nCoV}}
* [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nucleotide/MN908947.3 NCBI Reference: MN908947.3]
*[https://3g.dxy.cn/newh5/view/pneumonia 丁香医生:全球新型冠状病毒实时动态]
* [https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nuccore/NC_045512.2 NCBI Reference: NC_045512.2]

* [https://gisanddata.maps.arcgis.com/apps/opsdashboard/index.html#/bda7594740fd40299423467b48e9ecf6 Realtime interactive global map of Wuhan novel coronavirus (2019-nCOV) spread] by [[Johns Hopkins University]]


{{Viral systemic diseases|state=collapsed}}
{{Viral systemic diseases|state=collapsed}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:00, 27 มกราคม 2563

โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019
(2019-nCoV)
Phyre2 ribbon diagram of 2019-nCoV protease as target for antiviral drugs developed by Innophore
ภาพจำลองทำนายโครงสร้างริบบอนของเอนไซม์ protease ของ 2019-nCoV
(โดย Phyre2) ซึ่งเป็นเป้าหมายของยาต้านไวรัส ที่พัฒนาโดย Innophore
การจำแนกชนิดไวรัส
Group: Group IV ((+)ssRNA)
อันดับ: Nidovirales
วงศ์: Coronaviridae
วงศ์ย่อย: Coronavirinae
สกุล: Betacoronavirus
ชนิดต้นแบบ
Novel Coronavirus 2019
เมืองอู่ฮั่น, จีน จุดเริ่มต้นรายงานการแพร่ระบาด
ชื่อพ้อง
  • Wuhan seafood market pneumonia virus
  • Wuhan pneumonia
  • Wuhan coronavirus

โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ อังกฤษ: Novel coronavirus 2019, จีน: 2019新型冠狀病毒 หรือ 2019-nCoV ที่ระบุชื่อโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)[1][2] และที่รู้จักกันในชื่อที่ไม่เป็นทางการว่า "โคโรนาไวรัสอู่ฮั่น" หรือ "ไวรัสปอดอักเสบอู่ฮั่น"[3] (จีนตัวย่อ: 武汉冠状病毒; จีนตัวเต็ม: 武漢冠狀病毒) เป็นไวรัสอาร์เอ็นเอชนิดสายเดี่ยว ที่มีลำดับสารพันธุกรรมเหมือน เอ็มอาร์เอ็นเอ (Positive-sense single-stranded RNA virus) กรณีต้องสงสัยกรณีแรกถูกแจ้งให้องค์การอนามัยโลกทราบในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[4] โดยผู้ป่วยรายแรกมีอาการเจ็บป่วยปรากฏขึ้นเมื่อสามสัปดาห์ก่อนหน้านั้นคือเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2562[5] ลำดับจีโนมหลังจากการทดสอบกรดนิวคลีอิกในตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นบวกในผู้ป่วยที่เป็นโรคปอดอักเสบ ในช่วงระหว่างการระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2562–2563[6][7]

ประวัติการค้นพบ

ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 สำนักงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการจากทางการจีนว่ามีกรณีของโรคปอดบวมรุนแรงหลายกรณี ในเมืองอู่ฮั่นเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากสาเหตุของการติดเชื้อที่ไม่เคยถูกตรวจพบมาก่อน เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563 มีรายงานผู้ป่วย 44 คนต่อองค์การอนามัยโลก ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยหนัก 11 รายและอีก 33 รายมีอาการทรงตัว ผู้ป่วยบางรายเป็นผู้ขายหรือผู้ค้าในตลาดขายส่งปลาและอาหารทะเลหฺวาหนาน (จีน: 华南海鲜批发市场; พินอิน: Huánán hǎixiān pīfā shìchǎng) ในเมืองอู่ฮั่น[8] หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบได้ทำการปิดตลาดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 โฆษกขององค์การอนามัยโลก กล่าวในขณะนั้นว่ามีความเป็นไปได้ว่าแหล่งที่มาของการติดเชื้อจะพบได้ในตลาด ยังไม่พบการติดต่อจากคนสู่คน[9] การประกาศดังกล่าวดึงดูดความสนใจทั่วโลก เพราะเป็นการย้อนความทรงจำของโรคระบาดซาร์สที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของจีนในปี พ.ศ. 2545-2546 ซึ่งมีผู้ติดเชื้อในเวลานั้นมากกว่า 700 คนทั่วโลก[10]

เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิทยาไวรัสชาวจีน สูเจี้ยนกว๋อ (จีน: 徐建国; พินอิน: Xújiànguó) ซึ่งรับผิดชอบในการระบุชนิดไวรัสได้ประกาศว่าเชื้อโรคนั้นเป็นโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ ซึ่งเป็นผลจากการทดสอบตัวอย่างเลือดและสารคัดหลั่งในคอจากผู้ป่วย 15 ราย สิ่งนี้ได้รับการยืนยันในแถลงการณ์อย่างเป็นทางการจากองค์การอนามัยโลก ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2563[11][12] และในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ลำดับจีโนมที่สมบูรณ์ของโคโรนาไวรัสชนิดใหม่ถูกบันทึกลงในฐานข้อมูล NCBI GenBank (หมายเลข GenBank MN908947)

การบัญญัติชื่อ

ข้อเสนอแนะในการตั้งชื่อ เพื่อตั้งชื่อไวรัสตามเมืองอู่ฮั่นซึ่งเป็นสถานที่ที่ไวรัสได้รับการยืนยันครั้งแรกว่า โคโรนาไวรัสระบบทางเดินหายใจอู่ฮั่น (WRS-CoV) ไม่ได้รับการพิจารณา เหตุผลหนึ่งที่เป็นไปได้ที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญก็คือ การร้องเรียนในอดีตเมื่อไวรัสถูกตั้งชื่อตามแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (ตัวอย่างเช่น โคโรนาไวรัสสายพันธุ์กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง MERS-CoV)[13] ข้อมูลไวรัสได้ถูกรวมอยู่ในฐานข้อมูลอนุกรมวิธานของ NCBI (ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับชื่อไวรัสและการจำแนกประเภท) ภายใต้ชื่อ Wuhan seafood market pneumonia virus[14]

วิทยาไวรัส

สายวิวัฒนาการและอนุกรมวิธาน

สมมุติฐานโครงสร้างจีโนมของ
2019-nCoV ( Open reading frame)

2019-nCoV เป็นไวรัสในกลุ่มขนาดใหญ่ที่รู้จักกันในชื่อ โคโรนาไวรัส โตโรนาไวรัสอื่นมีความสามารถในการก่อให้เกิดความเจ็บป่วย ตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงโรคที่รุนแรงมากขึ้นเช่น โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS) และ กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) แต่มีเพียงหกชนิดก่อนหน้านี้เท่านั้นที่ติดเชื้อในมนุษย์ ทำให้ 2019-nCoV เป็นชนิดที่เจ็ด[15]

การแยก Wuhan-Hu-1 (GenBank หมายเลข MN908947) จาก 2019-nCoV แสดงให้เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมากที่สุดกับโคโรนาไวรัสที่แยกได้จากค้างคาวจากประเทศจีน ซึ่งถูกวิเคราะห์ในปี พ.ศ. 2558 และ 2560[16]แม้กระนั้นไวรัสชนิดนี้มีความแตกต่างทางพันธุกรรมจากโคโรนาไวรัสอื่น ๆ เช่นโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS)และโคโรนาไวรัสที่เกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS)[17] ไวรัสชนิดนี้เป็นสมาชิกของสกุล Beta-CoV สาย B เช่นเดียวกับ SARS-CoV[18][19] (ตัวอย่างเช่น ซับจีนัส Sarbecovirus[20]) จีโนมจำนวนสิบแปดตัวอย่าง[21] ของโคโรนาไวรัสใหม่ถูกแยกและรายงานรวมถึง BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-01/2019, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-04/2020, BetaCoV/Wuhan/IVDC-HB-05/2019, BetaCoV/Wuhan/WIV04/2019 และ BetaCoV/Wuhan/IPBCAMS-WH-01/2019 ซึ่งรายงานโดยสถาบันแห่งชาติเพื่อการควบคุมและป้องกันโรคไวรัส ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (CCDC; จีน: 中国疾病预防控制中心), สถาบันชีววิทยาก่อโรค และโรงพยาบาลอู่ฮั่นจินหวินถาน (จีน: 武汉市金银潭医院)[22] ลำดับอาร์เอ็นเอ ของไวรัสชนิดนี้มีความยาวนิวคลีโอไทด์ทั้งหมด 29,903 คู่เบส ประกอบด้วย 29,410 คู่เบส กับ 265 คู่เบสและ 228 คู่เบส ที่ไม่สามารถแปลได้บริเวณปลาย 5 'และ 3' ตามลำดับ สมมุติฐานพื้นที่สร้างรหัสของไวรัสแบ่งออกเป็น 10 ส่วน ประกอบด้วย ORF1ab โพลิโปรตีนยาว 7096 เบส, ไกลโคโปรตีนส่วนเปลือก (S) ยาว 1282 เบส, โปรตีนเอนเวโลป (E) ยาว 75 เบส, ไกลโคโปรตีนเมมเบรน (M) ยาว 222 เบส, นิวคลีโอแคปซิด ฟอสโฟโปรตีน ยาว 419 เบส และยีนอีก 5 ส่วน (ORF3a, ORF6, ORF7a, ORF8 และ ORF10) ลำดับของยีนสอดคล้องกับไวรัสโรคซาร์สและโคโรนาไวรัสชนิดอื่นทั้งหมด[17]

กลไกการเข้าสู่เซลล์

การถอดรหัสจีโนมของไวรัสได้นำไปสู่การทดลองสร้างแบบจำลองโปรตีนหลายอย่างเพื่อจับกับโปรตีนตัวรับ (RBD) ของโปรตีน nCoV สไปก์ (S) ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิจัยชาวจีนสองคณะเชื่อว่าโปรตีนสไปก์ มีความเป็นไปได้ที่สัมพันธ์กับตัวรับ SARS (เอนไซม์ angiotensin-converting enzyme 2, ACE2) เพื่อใช้เป็นกลไกในการเข้าสู่เซลล์[23] ในวันที่ 22 มกราคม กลุ่มในประเทศจีนที่ทำงานกับไวรัสโดยสมบูรณ์ และกลุ่มในสหรัฐอเมริกาที่ทำงานกับพันธุศาสตร์ย้อนกลับ แสดงผลการทดลองให้เห็นโดยอิสระว่า ACE2 เป็นตัวรับสำหรับ 2019-nCoV[24][25][26]

เพื่อค้นหายาที่มีศักยภาพในการรักษา โปรตีเอส M(pro) ของไวรัสถูกนำมาสร้างแบบจำลองสำหรับการทดลองเชื่อมต่อกับยา ทีมวิจัยจาก Innophore ผลิตแบบจำลองการคำนวณสองรูปแบบโดยใช้โปรตีเอสของซาร์ส [43] และสถาบันวิทยาศาสตร์จีน (จีน: 中国科学院) ได้สร้างโครงสร้างทดลองของรีคอมบิแนนต์โปรตีเอสของ 2019-nCoV

การติดต่อ

การติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้รับการยืนยันในมณฑลกวางตุ้งประเทศจีน ตามการแถลงของ จง หนานชาน (จีน: 钟南山) หัวหน้าคณะกรรมาธิการสาธารณสุขซึ่งได้ทำการสอบสวนการระบาด[27] พบการติดเชื้อไวรัสแม้ในช่วงระยะฟักตัว[28][29] ไวรัสได้รับการประเมินค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐาน (R0) ระหว่าง 3 ถึง 5[30] หมายความว่าโดยทั่วไปจะมีผู้ติดเชื้อ 3 ถึง 5 คนต่อสถานการณ์การติดเชื้อ กลุ่มวิจัยอื่น ๆ ได้ประมาณจำนวนค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐานระหว่าง 1.4 และ 3.8 ซึ่งได้รับการยอมรับว่าไวรัสสามารถส่งผ่านห่วงโซ่ของคนอย่างน้อยสี่คน[31] เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดต่อไปการแพร่เชื้อจะต้องลดลงมากถึง 60% โดยมาตรการที่เหมาะสม จำนวนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตที่พิสูจน์แล้วก่อนหน้านี้ส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 2.9% (80/2744) อัตราการเสียชีวิตที่แท้จริงสามารถต่ำกว่า (กรณีที่มีอาการน้อยหรือไม่มีเลยยังไม่ถูกค้นพบ) และสูงกว่า (มีผู้ป่วยที่ยืนยัน 461 รายอยู่ในภาวะวิกฤต จาก 2744 รายหรือ 16.8% ) ปัจจุบันระยะฟักตัวอยู่ระหว่าง 1 ถึง 14 วันจึงคล้ายคลึงกับโรคซาร์สอย่างมาก[7][32] (ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563)

แหล่งรังโรค

มีข้อสงสัยว่าสัตว์ที่ขายเป็นอาหารนั้นจะเป็นแหล่งรังโรคหรือเป็นพาหะ เพราะผู้ติดเชื้อรายแรกที่ยืนยันเป็นคนงานในตลาดอาหารทะเลหฺวาหนาน พวกเขาจึงต้องสัมผัสกับสัตว์จำนวนมาก[19] ตลาดขายสัตว์ที่มีชีวิตเป็นอาหาร ก็ถูกตำหนิในการแพร่ระบาดของโรคซาร์สในปี พ.ศ. 2546 ตลาดเช่นนี้ถือว่าเป็นศูนย์บ่มเพาะที่สมบูรณ์แบบสำหรับเชื้อโรคที่แปลกใหม่[33]

ด้วยจำนวนที่เพียงพอของข้อมูลลำดับจีโนม เป็นไปได้ที่จะสร้างแผนภาพต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ของประวัติการกลายพันธุ์ของตระกูลไวรัส ในช่วง 17 ปีของการวิจัยเกี่ยวกับต้นกำเนิดของการแพร่ระบาดของโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 โคโรนาไวรัสจากค้างคาวที่มีลักษณะคล้ายโรคซาร์สจำนวนมากได้ถูกแยกและเรียงลำดับจีโนม โคโรนาไวรัสจากอู่ฮั่นพบว่าตกอยู่ในประเภทของ โคโรนาไวรัสที่เกี่ยวข้องกับโรคซาร์ส ลำดับจีโนมสองลำดับจาก "ค้างคาวเกือกม้าจีน Rhinolophus sinicus" ที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2560 แสดงความคล้ายคลึงกันถึง 80% กับ 2019-nCoV[34][35] จีโนมไวรัสที่ไม่ถูกตีพิมพ์ตัวอย่างที่สามจาก "ค้างคาวเกือกม้ากลาง Rhinolophus affinis" มีความคล้ายคลึงกับของ 2019-nCoV ถึง 96% ได้ถูกบันทึกเป็นข้อสังเกตเช่นกัน[36] สำหรับการเปรียบเทียบจำนวนของการแปรผันของไวรัสนี้ มีความคล้ายคลึงกับปริมาณการกลายพันธุ์ที่สังเกตได้นานกว่าสิบปีในเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H3N2[37]

พยาธิวิทยาคลินิก

อาการที่แสดงออกทางคลินิก

มีรายงานว่ากรณีผู้ป่วยมีอาการไข้ 90%[19] มีอาการอ่อนเพลียและไอแห้ง 80%[19][38] และหายใจถี่ 20% โดยหายใจลำบาก 15%[38] การถ่ายภาพรังสีเอกซ์ช่องอกได้แสดงสัญญาณในปอดทั้งสองข้าง ซึ่งสามารถนำไปสู่อาการปอดบวม ไตวาย และเสียชีวิตจากการติดเชื้อรุนแรง[39] ในแถลงการณ์เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นาย Tedros Adhanom Ghebreyesus ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลกระบุว่า หนึ่งในสี่ของผู้ที่ติดเชื้อนั้นมีอาการหนัก และหลายรายที่เสียชีวิตมีอาการอื่นที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่นความดันโลหิตสูง, เบาหวาน หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ[40] โดยทั่วไปแล้วสัญญาณชีพนั้นมีความเสถียรในเวลาที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล[38] ผลตรวจเลือดมีจำนวนเม็ดเลือดขาวโดยรวมต่ำ (leucopenia) โดยเฉพาะเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ต่ำ (lymphopenia) [19]

วิธีการตรวจสอบ

ไวรัสสามารถตรวจพบได้โดยตรงโดยใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบย้อนกลับ (RT-PCR) (จากเสมหะ, สารคัดหลั่งจากหลอดลม, น้ำล้างหลอดลม, การเก็บสิ่งส่งตรวจป้ายโพรงจมูก) สำหรับผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคปอดอักเสบและอยู่ในพื้นที่เสี่ยง 14 วันก่อนการระบาดของโรค และสำหรับผู้ที่มีอาการซึ่งเคยติดต่อกับผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันแล้ว เป็นวิธีการที่แนะนำ จนกว่าจะมีการพัฒนาวิธีการตรวจจับทางอ้อม (การตรวจหาแอนติบอดี) และแนะนำให้เก็บซีรัมจากผู้ป่วยด้วย[41] (ณ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2563)

การรักษา

ไม่มีการรักษาที่เฉพาะเจาะจงสำหรับไวรัสในขณะนี้ แต่สามารถพิจารณาการใช้ยาแอนตีไวรัสที่มีอยู่แล้ว[42] ซึ่งรวมถึง ตัวยับยั้งเอนไซม์โปรตีเอส อย่างเช่น อินดินาเวียร์, ซาควินาเวียร์, Remedesivir, โลปินาเวียร์/ริโทนาเวียร์ และ อินเตอร์เฟียรอน - เบตา[43][44]

การวิจัยวัคซีน

ในเดือนมกราคมพ.ศ. 2563 หลายองค์กรและสถาบันเริ่มต้นในการสร้างวัคซีนสำหรับโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 ตามรหัสจีโนมที่ตีพิมพ์เผยแพร่[45][46]

โครงการวัคซีนสามโครงการได้รับการสนับสนุนจาก Coalition for Epidemic Preparedness Innovations (CEPI) รวมถึงโครงการโดย บริษัท เทคโนโลยีชีวภาพ Moderna และอีกโครงการหนึ่งโดยมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์[47]สถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NIH) กำลังร่วมมือกับ Moderna ในการสร้างวัคซีนอาร์เอ็นเอที่ตรงกับสไปก์บนผิวของโคโรนาไวรัส และหวังว่าจะเริ่มการผลิตได้ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563[45] ในออสเตรเลีย มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์กำลังตรวจสอบศักยภาพของวัคซีนจับยึดโมเลกุลที่จะดัดแปลงโปรตีนของไวรัส เพื่อสร้างเลียนแบบโคโรนาไวรัสและกระตุ้นปฏิกิริยาระบบภูมิคุ้มกัน[47]

ในโครงการที่เป็นอิสระ หน่วยงานสาธารณสุขของแคนาดาได้อนุญาตให้หน่วยงานวัคซีนและโรคติดเชื้อ (VIDO-InterVac) ที่มหาวิทยาลัยซัสแคตเชวัน เริ่มทำงานกับวัคซีน[48] VIDO-InterVac มีจุดมุ่งหมายเพื่อเริ่มการผลิตและทดสอบในสัตว์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 และทดสอบในมนุษย์ในปี พ.ศ. 2564[46]

วิทยาการระบาด

จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน
แบ่งตามมณฑลในประเทศจีน
จำนวนผู้ติดเชื้อที่ยืนยัน
แบ่งตามประเทศ

การระบาดของโรคที่เป็นที่ทราบกันเพียงแห่งเดียวถูกโยงไปยังตลาดอาหารทะเลหวาหนาน ในอู่ฮั่นประเทศจีน ในเวลาต่อมาไวรัสแพร่กระจายไปยังกรุงเทพมหานคร, โตเกียว, โซล, ปักกิ่ง, เซี่ยงไฮ้, กวางตุ้ง, อำเภอต้าหยวน (จีน: 大園區) ในไต้หวัน, ฮ่องกง[49], มาเก๊า, เอเวอเรตต์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา[50], เวียดนาม[51] และสิงคโปร์[52] นักวิทยาศาสตร์ที่ Medical Research Council's Centre for Global Infectious Disease Analysis ที่วิทยาลัยอิมพีเรียลลอนดอน ประมาณว่ามี 4,000 คนติดเชื้อโคโรนาไวรัสในเมืองอู่ฮั่น[53]

ลำดับเหตุการณ์

จากข้อมูลของทางการจีนในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2563 มีการบันทึกยืนยันผู้ป่วยจากไวรัสมีจำนวน 40 ราย และในวันเดียวกันหนึ่งในผู้ป่วยชายอายุ 61 ปีได้เสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัส[54] กรณีแรกนอกประเทศจีนเป็นที่ทราบกันในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยเป็นผู้ป่วยหญิงชาวจีนวัย 61 ปีในกรุงเทพฯ ที่มีประวัติเดินทางเข้าสู่เมืองอู่ฮั่นเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2563[55][56] ผู้ป่วยชายอายุ 69 ปีเสียชีวิตเป็นรายที่สอง เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2563 และจำนวนผู้ป่วยนอกประเทศจีนเพิ่มขึ้นเป็นสามรายในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2563 (สองรายในประเทศไทย หนึ่งรายในประเทศญี่ปุ่น)[57] จากที่มีการยืนยันผู้ป่วยหลายกรณีในต่างประเทศ นักวิทยาการระบาดสรุปว่าจำนวนผู้ติดเชื้อในอู่ฮั่นจะต้องสูงกว่าจำนวนผู้ป่วยที่ยืนยันอย่างเป็นทางการ 41 ราย ผู้เชี่ยวชาญประเมินจำนวนผู้ติดเชื้อในอู่ฮั่นประมาณ 1,700 คนในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563[58]

ในขั้นแรกสุด มาตรการรักษาความปลอดภัยถูกดำเนินการที่ท่าอากาศยานในสิงคโปร์และฮ่องกง ผู้โดยสารที่เดินทางมาจากเมืองอู่ฮั่นจะถูกตรวจสอบ โดยเฉพาะสำหรับผู้มีอุณหภูมิร่างกายที่สูงขึ้นและสอบถามเกี่ยวกับอาการของโรคปอดอักเสบ ท่าอากาศยานหลายแห่งในประเทศไทย, เกาหลีใต้, มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ออกมาตรการที่คล้ายคลึงกันตามมา และตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2563 การควบคุมเช่นเดียวกันจะมีผลบังคับใช้ที่ท่าอากาศยานหลักสามแห่งของสหรัฐ คือท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก (SFO), ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (LAX) และท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี ในนิวยอร์ก (JFK)[59]

เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2563 ทางการจีนรายงานว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีผู้ป่วยใหม่ 139 คนในวันที่ 18-19 มกราคม พ.ศ. 2563 บางรายอยู่นอกเมืองอู่ฮั่น คือในเชินเจิ้นและปักกิ่ง มีรายงานผู้เสียชีวิตจากไวรัสอีกหนึ่งราย และการรายงานผู้ป่วยรายแรกจากเกาหลีใต้[60] ทางการจีนยืนยันว่าการติดเชื้อนั้นสามารถเกิดจากคนสู่คน[61] ในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2563 การติดเชื้อ 2019-nCoV ครั้งแรกนอกเอเชียได้รับการวินิจฉัยในชาวอเมริกันที่เดินทางกลับจากอู่ฮั่นมายังสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2563 ในเมืองซีแอตเทิล[62]

มีการแสดงความกังวลว่าเทศกาลตรุษจีนที่กำลังจะมาถึงในจีนอาจมีส่วนสำคัญต่อการแพร่กระจายของไวรัส[63] ซึ่งจะมีหลายร้อยล้านคนเดินทางในเทศกาลนี้เพื่อกลับไปเยี่ยมครอบครัว[64]

องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้มีการประชุมคณะกรรมการฉุกเฉินเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2563 เพื่อชี้แจงว่าการแพร่กระจายของโคโรนาไวรัสเป็นภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ได้ชี้แจงไว้ในตอนแรก การดำเนินการต่อไปจะต้องมีการหารือกันอีกครั้งในวันที่ 23 มกราคม[65]

มาตรการกักกันในอู่ฮั่น

ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 การเชื่อมต่อรถไฟและเที่ยวบินทั้งหมดจากอู่ฮั่น เมืองที่มีประชากรประมาณ 9 ล้านคน รวมถึงการเชื่อมต่อรถบัส, รถไฟใต้ดิน และเรือข้ามฟาก ชาวอู่ฮั่นได้รับคำสั่งไม่ให้ออกจากเมือง ห้องสมุดพิพิธภัณฑ์และโรงละครยกเลิกกิจกรรมและการแสดง อู่ฮั่นเป็นศูนย์ประสานงานสำหรับมาตรการในการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรค ณ จุดนี้มีการยืนยันการติดเชื้อ 500 ครั้งอย่างเป็นทางการและมีผู้เสียชีวิต 17 ราย (ทั้งหมดในหวู่ฮั่นและหูเป่ย์) นักระบาดวิทยาประเมินว่าจำนวนผู้ติดเชื้อจะอยู่ที่ประมาณ 4,000 คนในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2563[66]

รายงานจากหนังสือพิมพ์ "ไชนาเดลี่" ในอู่ฮั่นถนนสายหลักจะถูกปิดกั้นในวันพฤหัสบดี มีมาตรการสวมหน้ากากป้องกันในที่สาธารณะ ทุกคนที่ไม่สวมหน้ากากในโรงแรม, ร้านอาหาร, ห้างสรรพสินค้า และสวนสาธารณะจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าในพื้นที่

หน่วยรักษาการณ์ปิดถนนทางด่วนที่เข้าสู่อู่ฮั่น ด่านเก็บค่าผ่านทางถูกปิด

ชาวเมืองต่างพากันไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเพื่อทำการตรวจสุขภาพ ชั้นวางของในซุปเปอร์มาร์เก็ตว่างเปล่าจากการถูกกว้านซื้อ สถานีบริการน้ำมันมีแถวยาวของผู้รอใช้บริการ

"อู่ฮั่นได้รับการนิยามว่าเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าและการขนส่งสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในจีน" ระบบขนส่งหลายรูปแบบที่ยืดหยุ่น "ด้วยทางด่วนรถไฟความเร็วสูง และการขนส่งทางน้ำในแม่น้ำแยงซี ทำให้เมืองเป็นศูนย์กลาง อู่ฮั่นอยู่ห่างเกือบ 1,000 กิโลเมตรจากทะเลแต่ก็สามารถเข้าถึงได้โดยเรือเดินสมุทร"[67]

สายการบินระหว่างประเทศเช่น แอร์ฟรานส์ ได้หยุดเส้นทางบินโดยตรงสู่อู่ฮั่น[68]

มาตรการกักกันในเมืองอื่น

เมืองหวงกัง (จีน: 黄冈) ซึ่งมีประชากร 7.5 ล้านคน อยู่ทางตะวันออกของอู่ฮั่นประมาณ 70 กม. ก็ถูกตัดขาดจากระบบขนส่งสาธารณะ ตั้งแต่เที่ยงคืนวันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2563 ตามเวลาท้องถิ่น (UTC+8) โรงภาพยนตร์ทั้งหมด, ร้านอินเทอร์เน็ต และตลาดกลางของเมืองนี้ถูกปิด ผลกระทบที่คล้ายคลึงกันกำลังเกิดขึ้นในเมืองเอ้อโจว (จีน: 鄂州) ที่อยู่ใกล้เคียงหลังจากสถานีรถไฟหลักถูกปิดในวันที่ 23 มกราคม ประชาชนรวมทั้งหมดเกือบ 20 ล้านคนได้รับผลกระทบจากข้อจำกัด ซึ่งนับเป็นเหตุการณ์เฉพาะในขอบเขตของประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน[69]

ในปักกิ่งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม มีการประกาศให้การเฉลิมฉลองตรุษจีนในช่วงสุดสัปดาห์ และงานประเพณีแบบดั้งเดิมในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ถูกยกเลิกเป็นเวลาสองสัปดาห์หลังจากปีใหม่ และสถานที่ท่องเที่ยวบางแห่งถูกปิด

หลังจากที่ผู้ป่วยเป็นรายที่สองได้รับการยืนยันในเขตปกครองพิเศษมาเก๊าของจีน การเฉลิมฉลองวันปีใหม่ระหว่างวันที่ 25 มกราคมถึงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ก็ถูกยกเลิกเช่นกัน

จีนใช้มาตรการกักกันโดยไม่ปรึกษากับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก Tedros Adhanom Ghebreyesus เห็นด้วยกับการดำเนินการเพราะ "มวลชนที่มาสะสมรวมตัวกันเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการแพร่กระจาย" เขาสัญญาว่าจะให้คำแนะนำในการเดินทางที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เมื่อสิ้นสุดการพิจารณาของคณะกรรมการฉุกเฉินในเจนีวาในเย็นวันพฤหัสบดี

กลุ่มบริษัทรถไฟของรัฐจีน (จีน: 国铁集团, China State Railway Group) แจ้งว่าผู้จองตั๋วสามารถขอคืนตั๋วรถไฟได้ทั่วประเทศตั้งแต่วันศุกร์[70]

หลังจากเมืองเอ้อโจว รถไฟก็ได้หยุดดำเนินการในเมืองเซียนเถา (จีน: 仙桃), ชื่อปี้ (จีน: 赤壁) และ ลี่ชวน (จีน: 利川)[68]

ความโปร่งใส

"รองนายกรัฐมนตรีจีน ซุน ชุนหลาน (จีน: 孙春兰) กล่าวผ่านสื่อของรัฐบาลจีนในระหว่างการเยือนอู่ฮั่นว่า ทางการควรจะเปิดให้มีการรับมือและต่อสู้กับไวรัส" ตรงกันข้ามกับการแพร่ระบาดของโรคซาร์สในปี พ.ศ.2545/2546 รัฐบาลปักกิ่งสัญญาว่าจะดำเนินการอย่างโปร่งใสและมีการเผยแพร่รายงาน[68]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Surveillance case definitions for human infection with novel coronavirus (nCoV)". WHO. 10 January 2020.
  2. "Novel coronavirus (2019-nCoV), Wuhan, China". Cdc.gov. 2020-01-10. สืบค้นเมื่อ 2020-01-16.
  3. "โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ มารู้จักไวรัสที่ทำให้เกิดโรคปอดอักเสบระบาดในจีน". บีบีซี. 13 มกราคม 2563.
  4. "Pneumonia of unknown cause – China. Disease outbreak news". World Health Organization. 5 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2020. สืบค้นเมื่อ 6 January 2020.
  5. Schnirring, Lisa (14 January 2020). "Report: Thailand's coronavirus patient didn't visit outbreak market". CIDRAP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  6. "新型冠状病毒感染的肺炎". www.chinacdc.cn (ภาษาChinese). 中国疾病预防控制中心. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  7. 7.0 7.1 "New-type coronavirus causes pneumonia in Wuhan: expert – Xinhua | English.news.cn". www.xinhuanet.com. สืบค้นเมื่อ 2020-01-09.
  8. "Pneumonia of unknown cause – China". WHO. 2020-01-05. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  9. "Wuhan pneumonia: World Health Organisation links China virus outbreak to single seafood market in Wuhan and says it's not spreading". South China Morning Post. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  10. "China pneumonia outbreak: Mystery virus probed in Wuhan". BBC News. 2020-01-03. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  11. "WHO Statement Regarding Cluster of Pneumonia Cases in Wuhan, China". WHO. 2020-01-09. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  12. "Informationen des RKI zu Pneumonien durch ein neuartiges Coronavirus in Wuhan, China" (ภาษาGerman). Robert Koch Institut. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  13. Ching-Tse Cheng (2020-01-14). "WHO declines to name new pneumonia after 'China' or 'Wuhan'". Taiwan News. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  14. "Wuhan seafood market pneumonia virus". NCBI Taxonomy Browser. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
  15. Zhu, Na; Zhang, Dingyu; Wang, Wenling; และคณะ (24 January 2020). "A Novel Coronavirus from Patients with Pneumonia in China, 2019". New England Journal of Medicine. 0. doi:10.1056/NEJMoa2001017. ISSN 0028-4793.
  16. "Novel coronavirus complete genome from the Wuhan outbreak now available in GenBank". NCBI Insights. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  17. 17.0 17.1 Zhang, Y.-Z.; และคณะ (12 January 2020). "Wuhan seafood market pneumonia virus isolate Wuhan-Hu-1, complete genome". GenBank. Bethesda MD. สืบค้นเมื่อ 13 January 2020.
  18. "Phylogeny of SARS-like betacoronaviruses". nextstrain. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
  19. 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 Hui DS; I Azhar E; Madani TA; และคณะ (2020-01-14). "The continuing 2019-nCoV epidemic threat of novel coronaviruses to global health – The latest 2019 novel coronavirus outbreak in Wuhan, China". Int J Infect Dis (91): 264–266. doi:10.1016/j.ijid.2020.01.009. PMID 31953166.
  20. Antonio C. P. Wong, Xin Li, Susanna K. P. Lau, Patrick C. Y. Woo: Global Epidemiology of Bat Coronaviruses, in: Viruses. 2019 Feb; 11(2): 174, doi:10.3390/v11020174
  21. Trevor Bedford and Richard Neher. "Genomic epidemiology of novel coronavirus (nCoV) using data generated by Fudan University, China CDC, Chinese Academy of Medical Sciences, Chinese Academy of Sciences, Zhejiang Provincial Center for Disease Control and Prevention and the Thai National Institute of Health shared via GISAID". nextstrain.org. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020.
  22. "Initial genome release of novel coronavirus". Virological. 2020-01-11. สืบค้นเมื่อ 2020-01-12.
  23. "Evolution of the novel coronavirus from the ongoing Wuhan outbreak and modeling of its spike protein for risk of human transmission". SCIENCE CHINA Life Sciences. doi:10.1007/s11427-020-1637-5. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  24. Letko, Michael; Munster, Vincent (22 January 2020). "Functional assessment of cell entry and receptor usage for lineage B β-coronaviruses, including 2019-nCoV". BiorXiv. doi:10.1101/2020.01.22.915660. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
  25. Zhou, Peng; Shi, Zheng-Li (2020). "Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin". BiorXiv. doi:10.1101/2020.01.22.914952. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
  26. Gralinski, Lisa E.; Menachery, Vineet D. (2020). "Return of the Coronavirus: 2019-nCoV". Viruses. 12 (2): 135. doi:10.3390/v12020135.
  27. "China confirms human-to-human transmission of new coronavirus". CBC News. 20 January 2020. สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
  28. "【武漢肺炎】衛健委︰新型冠狀病毒傳播力增強 潛伏期最短僅1天". 明報新聞網.
  29. 专家:病毒潜伏期有传染性 有人传染同事后才发病
  30. Zhao, Shi; Ran, Jinjun; Musa, Salihu Sabiu; Yang, Guangpu; Lou, Yijun; Gao, Daozhou; Yang, Lin; He, Daihai (2020-01-24). "Preliminary estimation of the basic reproduction number of novel coronavirus (2019-nCoV) in China, from 2019 to 2020: A data-driven analysis in the early phase of the outbreak". bioRxiv: 2020.01.23.916395. doi:10.1101/2020.01.23.916395.
  31. Saey, Tina Hesman (24 January 2020). "How the new coronavirus stacks up against SARS and MERS". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  32. Coronavirus-Ausbruch im News-Ticker. Focus, 27. January 2020. (in German)
  33. Myers, Steven Lee (January 25, 2020). "China's Omnivorous Markets Are in the Eye of a Lethal Outbreak Once Again". The New York Times.
  34. Sample CoVZC45 and CoVZXC21, see there for an interactive visualisation
  35. "The 2019 new Coronavirus epidemic: evidence for virus evolution". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  36. Wuhan Institue of Virology (23 January 2020). "Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin". bioRxiv. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  37. "auspice". nextstrain.org.
  38. 38.0 38.1 38.2 "Experts explain the latest bulletin of unknown cause of viral pneumonia". Wuhan Municipal Health Commission. 11 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2020. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  39. "Q&A on coronaviruses". www.who.int (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
  40. "WHO Director-General's statement on the advice of the IHR Emergency Committee on Novel Coronavirus". www.who.int.
  41. "2019-nCoV: Verdachtsabklärung und Maßnahmen - Orientierungshilfe für Ärztinnen und Ärzte" (PDF) (ภาษาGerman). Robert-Koch-Institut. 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 26 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  42. "WHO says new China coronavirus could spread, warns hospitals worldwide". Reuters – World news. 14 January 2020.
  43. Paules, Catharine I.; Marston, Hilary D.; Fauci, Anthony S. (2020-01-23). "Coronavirus Infections—More Than Just the Common Cold". JAMA. doi:10.1001/jama.2020.0757. PMID 31971553.
  44. "上海药物所和上海科技大学联合发现一批可能对新型肺炎有治疗作用的老药和中药" (ภาษาChinese). People's Republic of China: Chinese Academy of Sciences. 2020-01-25.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  45. 45.0 45.1 Steenhuysen, Julie; Kelland, Kate (24 January 2020). "With Wuhan virus genetic code in hand, scientists begin work on a vaccine". Thomson Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  46. 46.0 46.1 "Saskatchewan lab joins global effort to develop coronavirus vaccine". Canadian Broadcasting Corporation. 24 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  47. 47.0 47.1 Devlin, Hannah (24 January 2020). "Lessons from Sars outbreak help in race for coronavirus vaccine". The Guardian. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2020. สืบค้นเมื่อ 25 January 2020.
  48. "Saskatchewan lab joins global effort to develop coronavirus vaccine". ca.news.yahoo.com.
  49. "China coronavirus: Hong Kong widens criteria for suspected cases after second patient confirmed, as MTR cancels Wuhan train ticket sales". South China Morning Post. 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  50. "China Virus Spreads to U.S. With Health Officials on High Alert". Bloomberg L.P. 21 January 2020. สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
  51. hermesauto (23 January 2020). "Wuhan virus: Vietnam confirms 2 cases of Sars-like coronavirus". The Straits Times. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  52. hermesauto (23 January 2020). "Singapore confirms first case of Wuhan virus". The Straits Times (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  53. BBC: China coronavirus: Fear grips Wuhan as lockdown begins
  54. Amy Qin; Javier C. Hernández (2020-01-10). "China Reports First Death From New Virus". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  55. "Wuhan pneumonia outbreak: First case reported outside China". BBC News. 2020-01-14. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  56. "Neue Lungenkrankheit auch in Thailand" (ภาษาGerman). Deutsche Welle. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  57. "Behörden ich China melden zweiten Toten durch Lungenkrankheit" (ภาษาGerman). Tagesschau. 2020-01-17. สืบค้นเมื่อ 2020-01-17.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  58. Natsuko Imai; Ilaria Dorigatti; และคณะ (2020-01-17). "Estimating the potential total number of novel Coronavirus cases in Wuhan City, China". MRC Centre for Global Infectious Disease Analysis. สืบค้นเมื่อ 2020-01-18.
  59. "Coronavirus: what airport measures are in place to detect sick passengers?". The Guardian. 2020-01-18. สืบค้นเมื่อ 2020-01-18.
  60. "New China virus: Cases triple as infection spreads to Beijing and Shanghai". BBC News. 2020-01-20. สืบค้นเมื่อ 2020-01-20.
  61. "Informationen des RKI zu Pneumonien durch ein neuartiges Coronavirus (2019-nCoV) in Wuhan, China" (ภาษาGerman). Robert Koch Institut. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  62. "New China virus: US announces first case". BBC News. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
  63. "New China virus: Warning against cover-up as number of cases jumps". BBC News. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
  64. Natalie Koh (2019-01-21). "3 billion trips in 40 days: China begins Lunar New Year mass migration". South China Morning Post. สืบค้นเมื่อ 2019-01-21.
  65. "Corona-Virus – China stoppt Verkehr von und nach Wuhan" (ภาษาGerman). deutschlandfunk.de. 2020-01-23. สืบค้นเมื่อ 2020-01-23.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  66. "Report 2: Estimating the potential total number of novel Coronavirus cases in Wuhan City, China". Imperial College London‌. 2020-01-22. สืบค้นเมื่อ 2020-01-23.
  67. "Nach Wuhan : Weitere Metropolen in China abgeschottet" (ภาษาGerman). 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  68. 68.0 68.1 68.2 "Coronavirus : Peking sagt Neujahrsfeiern ab" (ภาษาGerman). 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  69. "Peking sagt wegen Coronavirus große Neujahrsfeiern ab" (ภาษาGerman). Frankfurter Allgemeine Zeitung. 2020-01-23. สืบค้นเมื่อ 2020-01-24.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  70. "Nach Wuhan : Weitere Metropolen in China abgeschottet" (ภาษาGerman). 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น