ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางด่วน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางหน้าไป ทางพิเศษ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:UK motorway symbol.svg|thumb|150px|right|สัญลักษณ์ของมอเตอร์เวย์ใน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย สเปน ฝรั่งเศส และ ไอร์แลนด์ สัญลักษณ์ที่คล้ายคลีงกันได้รับการใช้ในบางประเทศ]]
#เปลี่ยนทาง [[ทางพิเศษ]]

'''ทางหลวงควบคุมการเข้าถึง''' ({{lang-en|Controlled-access highway}}) หรือในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก '''ทางด่วน''' (Expressway) หรือในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก '''มอเตอร์เวย์''' (Motorway) หรือในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก '''พรีเวย์''' (Freeway) เป็น[[ทางหลวง]]ประเภทหนึ่ง ที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะ[[ทางมีค่าผ่าน]]หรือไม่ก็ได้ แต่ทางด่วนโดยส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง

ในประเทศไทยเรียกทางด่วนของ[[การทางพิเศษแห่งประเทศไทย|การทางพิเศษฯ]]ว่า '''ทางพิเศษ''' เรียกทางด่วนของกรมทางหลวงว่า '''ทางหลวงพิเศษ''' (หรือ '''มอเตอร์เวย์''') และเรียก[[ทางยกระดับอุตราภิมุข|ทางด่วนอุตราภิมุข]]ว่า '''โทลล์เวย์'''
== ทางด่วนในประเทศต่างๆ ==
=== สหรัฐอเมริกา ===
[[ไฟล์:US 131, M-6, 68th St interchange.jpg|thumb|200px|right|ทางแยกต่างระดับที่เป็นจุดตัดของ[[อินเตอร์สเตต]]ในสหรัฐอเมริกา]]
{{บทความหลัก|ระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต}}
ระบบทางหลวงในสหรัฐอเมริกา เรียกว่า '''อินเตอร์สเตต''' ({{ภาษาอังกฤษ|Interstate}}) ระหว่างรัฐของสหรัฐอเมริกาเริ่มต้นก่อสร้างขึ้นจนกระทั่งครอบคลุมทั่วทุกรัฐ ประกอบไปด้วยทางหลวง 3 แบบ ได้แก่ ทางหลวงที่ไม่จำกัดความเร็ว (Freeway) ทางหลวงแผ่นดิน (Highway) และทางด่วน (Expressway) ใช้ระบบตัวเลขกำหนดสายทาง โดยตัวเลข 1 หลักและ 2 หลักจะเป็นถนนสายหลัก โดยเส้นทางที่ลงท้ายด้วยเลขคู่จะเป็นเส้นทางข้ามจากฝั่งตะวันออกมาตะวันตก ส่วนเส้นทางที่ลงท้ายด้วยเลขคี่จะเป็นเส้นทางจากเหนือจรดใต้ ส่วนตัวเลข 3 หลักจะเป็นถนนที่เป็นสาขาหรือเส้นทางวนรอบพื้นที่ในเขตชนบท กำหนดความเร็วจำกัดอยู่ที่ 105-129 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ละรัฐ

=== จีน ===
[[ไฟล์:PRC Expressway.jpg|200px|thumbnail|right|ทางหลวงพิเศษใน[[ประเทศจีน]]]]
ประเทศจีนมีระบบทางหลวงพิเศษที่เรียกว่า '''ระบบทางหลวงขนส่งแห่งชาติ''' ({{ภาษาอังกฤษ|National Truck Highway System}} หรือ NTHS) มีการควบคุมการเข้าออก โดยยึดมาตรฐานของระบบทางหลวงระหว่างรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้นแบบในการก่อสร้าง มีระยะทางโครงข่ายรวม 74,000 กิโลเมตร (พ.ศ. 2553) กำหนดความเร็วจำกัดสูงสุดที่ 110-120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และต่ำสุด 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

=== สหราชอาณาจักร ===
โครงข่ายมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรเป็นการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมตามหัวเมืองสำคัญเข้าไว้ด้วยกัน แนวคิดเรื่องมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรเริ่มขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยออกพระราชบัญญัติทางหลวงพิเศษขึ้นใน พ.ศ. 2492 และเปิดให้บริการมอเตอร์เวย์สายแรกของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 2501 คือ เส้นทาง M1 และได้ก่อสร้างมอเตอร์เวย์เส้นทางอื่น ๆ จนครบ 1,600 กิโลเมตร จนกระทั่งใน พ.ศ. 2540 รัฐบาลอังกฤษได้ลดแผนการเพิ่มโครงข่ายถนน และหันไปสร้างระบบรางแทน

มอเตอร์เวย์เกือบทั้งหมดใน[[สหราชอาณาจักร]] จะเป็นถนนที่มีรถวิ่ง 2 ทาง มีช่องจราจรทั้งหมด 2–4 ช่องจราจรในแต่ละทาง ซึ่งโดยส่วนมากมี 3 ช่องจราจร โดยในปัจจุบันมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรมีระยะทางรวม 3,438 กิโลเมตร และกำหนดความเร็วจำกัด 113 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

=== ประเทศไทย ===
[[ไฟล์:Thai_Motorway-t7.svg|125px|thumb|ป้ายทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพฯ-ชลบุรี)]]
{{บทความหลัก|ทางด่วนในประเทศไทย}}
ทางหลวงของประเทศไทยมีมากกว่า 97,903 กิโลเมตร แต่ทางหลวงที่มีลักษณะทางด่วนมีเพียง 382 กิโลเมตร ได้แก่ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ทางพิเศษ และ[[ทางยกระดับอุตราภิมุข]] ปัจจุบัน ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองอยู่ในความรับผิดชอบของ[[กรมทางหลวง]] เปิดให้บริการ 2 เส้นทาง ได้แก่ [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7]] (กรุงเทพ – ชลบุรี) ระยะทาง 82 กิโลเมตร และ[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9]] สายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันออก ช่วงบางพลี – บางปะอิน ระยะทาง 64 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งหมด 146 กิโลเมตร

== ชื่อเรียกในประเทศต่างๆ ==
ในแต่ละประเทศ มีชื่อเรียกมอเตอร์เวย์แตกต่างกันไป : <br />
* [[autoroute]] ใน [[ประเทศฝรั่งเศส]], [[ประเทศโมร็อกโก]], [[รัฐควิเบก]]ใน[[ประเทศแคนาดา]], บางส่วนของ[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] (ที่พูด[[ภาษาฝรั่งเศส]])
* auto-estrada ใน [[ประเทศโปรตุเกส]]
* [[ออโตบาห์น|Autobahn]] ใน [[ประเทศเยอรมนี]], [[ประเทศออสเตรีย]] และบางส่วนของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (ที่พูดภาษาเยอรมัน)
* dálnice ใน [[สาธารณรัฐเช็ก]]
* autostrada ใน [[ประเทศอิตาลี]], บางส่วนของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (ที่พูด[[ภาษาอิตาลี]]), [[โปแลนด์]] และ [[ประเทศโรมาเนีย]]
* autopista ใน [[ประเทศสเปน]] และ [[ประเทศเม็กซิโก]]
* autosnelweg ใน [[ประเทศเบลเยียม]] ([[แฟลนเดอรส์]]) และ [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]
* Aftokinitódromos (Αυτοκινητόδρομος) ใน [[ประเทศกรีซ]]
* motorvej ใน [[ประเทศเดนมาร์ก]]
* autópálya ใน [[ประเทศฮังการี]]
* Moottoritie/motorväg ใน [[ประเทศฟินแลนด์]]
* motorväg ใน [[ประเทศสวีเดน]]
* motorvei ใน [[ประเทศนอร์เวย์]]
* автомагистраль ''(avtomagistral)'' ใน [[ประเทศรัสเซีย]]
* avtopat ใน [[สาธารณรัฐมาซิโดเนีย]]
* Otoyol ใน [[ประเทศตุรกี]]
* ใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และในบางส่วนของประเทศออสเตรเลีย เรียกว่า "freeway" หรือ "expressway"
* [[อินเตอร์สเตต|interstate]] ใน [[สหรัฐอเมริกา]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{commons category-inline|Freeways}}
* {{commons category-inline|Motorways}}
{{คอมมอนส์|Motorway|มอเตอร์เวย์}}
* [http://www.dft.gov.uk/ Department for Transport] (สหราชอาณาจักร)
* [http://www.highways.gov.uk/ Highways Agency] (ประเทศอังกฤษ)
* [http://www.ceskedalnice.cz/ Czech Motorways] (สาธารณรัฐเช็ค)
* [http://www.highways.sk/ Slovak Motorways] (ประเทศสโลวะเกีย)
* [http://www.autobahnen.ch/index.php?lg=001&page=001 Swiss Motorways] (ประเทศสวิตเซอร์แลนด์)
* [http://www.nra.ie/ National Roads Authority] (สาธารณรัฐไอร์แลนด์)
* [http://www.europa.eu.int/comm/transport/index_en.html นโยบายการคมนาคมของสหภาพยุโรป]
* [http://www.cbrd.co.uk/motorway/ CBRD Motorway Database] {{en icon}}
* [http://www.uk-roads.org.uk/ ถนนในสหราชอาณาจักร] {{en icon}}
* [http://www.motorwaythailand.com/ สำนักงานทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง] {{th icon}}
* [http://www.thaimotorway.com/ E-Information ทางหลวงพิเศษ กรมทางหลวง] {{th icon}}

[[หมวดหมู่:ถนนแบ่งตามประเภท]]
{{โครงคมนาคม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:33, 7 พฤษภาคม 2559

สัญลักษณ์ของมอเตอร์เวย์ใน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย สเปน ฝรั่งเศส และ ไอร์แลนด์ สัญลักษณ์ที่คล้ายคลีงกันได้รับการใช้ในบางประเทศ

ทางหลวงควบคุมการเข้าถึง (อังกฤษ: Controlled-access highway) หรือในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก ทางด่วน (Expressway) หรือในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก มอเตอร์เวย์ (Motorway) หรือในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก พรีเวย์ (Freeway) เป็นทางหลวงประเภทหนึ่ง ที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะทางมีค่าผ่านหรือไม่ก็ได้ แต่ทางด่วนโดยส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง

ในประเทศไทยเรียกทางด่วนของการทางพิเศษฯว่า ทางพิเศษ เรียกทางด่วนของกรมทางหลวงว่า ทางหลวงพิเศษ (หรือ มอเตอร์เวย์) และเรียกทางด่วนอุตราภิมุขว่า โทลล์เวย์

ทางด่วนในประเทศต่างๆ

สหรัฐอเมริกา

ทางแยกต่างระดับที่เป็นจุดตัดของอินเตอร์สเตตในสหรัฐอเมริกา

ระบบทางหลวงในสหรัฐอเมริกา เรียกว่า อินเตอร์สเตต (อังกฤษ: Interstate) ระหว่างรัฐของสหรัฐอเมริกาเริ่มต้นก่อสร้างขึ้นจนกระทั่งครอบคลุมทั่วทุกรัฐ ประกอบไปด้วยทางหลวง 3 แบบ ได้แก่ ทางหลวงที่ไม่จำกัดความเร็ว (Freeway) ทางหลวงแผ่นดิน (Highway) และทางด่วน (Expressway) ใช้ระบบตัวเลขกำหนดสายทาง โดยตัวเลข 1 หลักและ 2 หลักจะเป็นถนนสายหลัก โดยเส้นทางที่ลงท้ายด้วยเลขคู่จะเป็นเส้นทางข้ามจากฝั่งตะวันออกมาตะวันตก ส่วนเส้นทางที่ลงท้ายด้วยเลขคี่จะเป็นเส้นทางจากเหนือจรดใต้ ส่วนตัวเลข 3 หลักจะเป็นถนนที่เป็นสาขาหรือเส้นทางวนรอบพื้นที่ในเขตชนบท กำหนดความเร็วจำกัดอยู่ที่ 105-129 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ละรัฐ

จีน

ทางหลวงพิเศษในประเทศจีน

ประเทศจีนมีระบบทางหลวงพิเศษที่เรียกว่า ระบบทางหลวงขนส่งแห่งชาติ (อังกฤษ: National Truck Highway System หรือ NTHS) มีการควบคุมการเข้าออก โดยยึดมาตรฐานของระบบทางหลวงระหว่างรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้นแบบในการก่อสร้าง มีระยะทางโครงข่ายรวม 74,000 กิโลเมตร (พ.ศ. 2553) กำหนดความเร็วจำกัดสูงสุดที่ 110-120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และต่ำสุด 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

สหราชอาณาจักร

โครงข่ายมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรเป็นการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมตามหัวเมืองสำคัญเข้าไว้ด้วยกัน แนวคิดเรื่องมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรเริ่มขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยออกพระราชบัญญัติทางหลวงพิเศษขึ้นใน พ.ศ. 2492 และเปิดให้บริการมอเตอร์เวย์สายแรกของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 2501 คือ เส้นทาง M1 และได้ก่อสร้างมอเตอร์เวย์เส้นทางอื่น ๆ จนครบ 1,600 กิโลเมตร จนกระทั่งใน พ.ศ. 2540 รัฐบาลอังกฤษได้ลดแผนการเพิ่มโครงข่ายถนน และหันไปสร้างระบบรางแทน

มอเตอร์เวย์เกือบทั้งหมดในสหราชอาณาจักร จะเป็นถนนที่มีรถวิ่ง 2 ทาง มีช่องจราจรทั้งหมด 2–4 ช่องจราจรในแต่ละทาง ซึ่งโดยส่วนมากมี 3 ช่องจราจร โดยในปัจจุบันมอเตอร์เวย์ในสหราชอาณาจักรมีระยะทางรวม 3,438 กิโลเมตร และกำหนดความเร็วจำกัด 113 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ประเทศไทย

ป้ายทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพฯ-ชลบุรี)

ทางหลวงของประเทศไทยมีมากกว่า 97,903 กิโลเมตร แต่ทางหลวงที่มีลักษณะทางด่วนมีเพียง 382 กิโลเมตร ได้แก่ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ทางพิเศษ และทางยกระดับอุตราภิมุข ปัจจุบัน ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง เปิดให้บริการ 2 เส้นทาง ได้แก่ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพ – ชลบุรี) ระยะทาง 82 กิโลเมตร และทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 สายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันออก ช่วงบางพลี – บางปะอิน ระยะทาง 64 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งหมด 146 กิโลเมตร

ชื่อเรียกในประเทศต่างๆ

ในแต่ละประเทศ มีชื่อเรียกมอเตอร์เวย์แตกต่างกันไป :

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Freeways
  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Motorways