ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2005

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2005
รายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2004–05
หลังต่อเวลาพิเศษ
ลิเวอร์พูล ชนะ ลูกโทษ 3–2
วันที่25 พฤษภาคม พ.ศ. 2548
สนามสนามกีฬาโอลิมปิกอตาเติร์ก, อิสตันบูล
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
สตีเวน เจอร์ราร์ด (ลิเวอร์พูล)[1]
ผู้ตัดสินมานูเอล เมคูโต กอนซาเลซ (สเปน)
ผู้ชม69,600 คน[2]
สภาพอากาศกลางคืนท้องฟ้าสดใส
18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์)
78% ความชื้นสัมพัทธ์[3]
2004
2006

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2005 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2004–05, เป็นการแข่งขันสโมสรฟุตบอลยุโรปหลัก. เหตุการณ์นี้เป็นการพบกันระหว่าง ลิเวอร์พูล ของอังกฤษ และ มิลาน ของอิตาลี ที่ สนามกีฬาอตาเติร์ก ในกรุง อิสตันบูล, ประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2548. ลิเวอร์พูล, ผู้ชนะการแข่งขันสี่สมัย, เป็นการลงสนามนัดชิงชนะเลิศครั้งที่หกของพวกเขา, และเป็นครั้งแรกของพวกเขานับตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1985. มิลาน, ผู้ชนะการแข่งขันหกสมัย, เป็นการลงสนามนัดชิงชนะเลิศครั้งที่สองในรอบสามปีและโดยรวมเป็นครั้งที่สิบ.

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

อิตาลี มิลาน รอบ อังกฤษ ลิเวอร์พูล
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบคัดเลือก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
บาย รอบคัดเลือกรอบสาม ออสเตรีย กราเซอร์ เอเค 2–1 2–0 (A) 0–1 (H)
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผล
ยูเครน ชัคตาร์ โดเนตสค์ 1–0 (A) นัดที่ 1 ฝรั่งเศส มอนาโก 2–0 (H)
สกอตแลนด์ เซลติก 3–1 (H) นัดที่ 2 กรีซ โอลิมเปียกอส 0–1 (A)
สเปน บาร์เซโลนา 1–0 (H) นัดที่ 3 สเปน เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา 0–0 (H)
สเปน บาร์เซโลนา 1–2 (A) นัดที่ 4 สเปน เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา 1–0 (A)
ยูเครน ชัคตาร์ โดเนตสค์ 4–0 (H) นัดที่ 5 ฝรั่งเศส มอนาโก 0–1 (A)
สกอตแลนด์ เซลติก 0–0 (A) นัดที่ 6 กรีซ โอลิมเปียกอส 3–1 (H)
แชมป์ กลุ่ม F
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อิตาลี มิลาน 6 4 1 1 10 3 +7 13
สเปน บาร์เซโลนา 6 3 1 2 9 6 +3 10
ยูเครน ชัคตาร์ โดเนตสค์ 6 2 0 4 5 9 −4 6
สกอตแลนด์ เซลติก 6 1 2 3 4 10 −6 5
ตารางคะแนน รองแชมป์ กลุ่ม A
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ฝรั่งเศส มอนาโก 6 4 0 2 10 4 +6 12
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 6 3 1 2 6 3 +3 10
กรีซ โอลิมเปียกอส 6 3 1 2 5 5 0 10
สเปน เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา 6 0 2 4 0 9 −9 2
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2–0 1–0 (A) 1–0 (H) รอบแพ้คัดออกรอบแรก เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 6–2 3–1 (H) 3–1 (A)
อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเล 5–0 2–0 (H) 3–0 (A) รอบก่อนรองชนะเลิศ อิตาลี ยูเวนตุส 2–1 2–1 (H) 0–0 (A)
เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 3–3 () 2–0 (H) 1–3 (A) รอบรองชนะเลิศ อังกฤษ เชลซี 1–0 0–0 (A) 1–0 (H)

การแข่งขัน[แก้]

รายละเอียด[แก้]

มิลาน[4]
ลิเวอร์พูล[4]
GK 1 บราซิล ดีด้า
RB 2 บราซิล กาฟู
CB 31 เนเธอร์แลนด์ ยาป สตัม
CB 13 อิตาลี อาเลสซันโดร เนสตา
LB 3 อิตาลี เปาโล มัลดีนี (c)
DM 21 อิตาลี อันเดรอา ปีร์โล
RM 8 อิตาลี เจนนาโร กัตตูโซ Substituted off in the 112 นาที 112'
LM 20 เนเธอร์แลนด์ คลาเรนซ์ ซีดอร์ฟ Substituted off in the 86 นาที 86'
AM 22 บราซิล กาก้า
CF 7 ยูเครน อันดรีย์ เชฟเชนโค
CF 11 อาร์เจนตินา เอร์นัน เกรสโป Substituted off in the 85 นาที 85'
ตัวสำรอง:
GK 46 อิตาลี คริสเตียน อับเบียติ
DF 4 ประเทศจอร์เจีย คาคา คาลัดเซ
DF 5 อิตาลี อาเลสซันโดร คอสตาคูร์ตา
MF 10 โปรตุเกส รุย กอชตา Substituted on in the 112 minute 112'
MF 24 ฝรั่งเศส วีคาช โดราซู
MF 27 บราซิล แซร์จินโญ Substituted on in the 86 minute 86'
FW 15 เดนมาร์ก ยอน ดาห์ล โทมัสสัน Substituted on in the 85 minute 85'
ผู้จัดการทีม:
อิตาลี การ์โล อันเชลอตตี
GK 1 โปแลนด์ แยชือ ดูแด็ก
RB 3 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สตีฟ ฟินแนน Substituted off in the 46 นาที 46'
CB 23 อังกฤษ เจมี คาร์เรเกอร์ โดนใบเหลือง ใน 75 นาที 75'
CB 4 ฟินแลนด์ ซามี ฮูเปีย
LB 21 มาลี จีมี ตราโอเร
DM 14 สเปน ชาบี อาลอนโซ
RM 10 สเปน ลุยส์ การ์ซีอา
CM 8 อังกฤษ สตีเวน เจอร์ราร์ด (c)
LM 6 นอร์เวย์ ยอห์น อาร์เน รีเซ่
SS 7 ออสเตรเลีย แฮร์รี คีเวลล์ Substituted off in the 23 นาที 23'
CF 5 เช็กเกีย มิลาน บารอส โดนใบเหลือง ใน 81 นาที 81' Substituted off in the 85 นาที 85'
ตัวสำรอง:
GK 20 อังกฤษ สกอตต์ คาร์สัน
DF 17 สเปน โคเซมี
MF 16 เยอรมนี ดิทมาร์ ฮามันน์ Substituted on in the 46 minute 46'
MF 18 สเปน อันโตนีโอ นูเญซ
MF 25 โครเอเชีย อีกอร์ บิสคาน
FW 9 ฝรั่งเศส จีบรีล ซีเซ Substituted on in the 85 minute 85'
FW 11 เช็กเกีย วลาดีเมียร์ สมีเซอร์ Substituted on in the 23 minute 23'
ผู้จัดการทีม:
สเปน ราฟาเอล เบนีเตซ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
อังกฤษ สตีเวน เจอร์ราร์ด (ลิเวอร์พูล)
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
สเปน Clemente Plou (สเปน)
สเปน Oscar Samaniego (สเปน)
ผู้ตัดสินที่สี่:
สเปน Arturo Dauden Ibáñez (สเปน)

ข้อมูลในการแข่งขัน

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • ตัวสำรองของแต่ละทีมมีรายชื่อ 7 คน
  • เปลี่ยนตัวได้สูงสุดถึง 3 คน

สถิติ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "2. Finals" (PDF). UEFA Champions League Statistics Handbook 2014/15. Union of European Football Associations. 2015. p. 10. สืบค้นเมื่อ 12 July 2015.
  2. 2.0 2.1 "UEFA Champions League – Statistics Handbook 2012/13" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. p. 141. สืบค้นเมื่อ 22 September 2013.
  3. 3.0 3.1 "Full time report" (PDF). UEFA. 25 May 2008. สืบค้นเมื่อ 30 November 2008.
  4. 4.0 4.1 "Tactical Line-ups – Final – Wednesday 25 May 2005" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2548. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. "Half Time Report" (PDF). UEFA. 25 May 2005. สืบค้นเมื่อ 29 November 2008.
  6. "Statistics". UEFA. 25 May 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2009. สืบค้นเมื่อ 30 November 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]