เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2020
สนามกีฬาเวมบลีย์ ในลอนดอน สนามจัดการแข่งขันในครั้งนี้
อาร์เซนอล ชนะ ลูกโทษ 5–4
วันที่29 สิงหาคม ค.ศ. 2020
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ดาวิด ลูอีซ (อาร์เซนอล)
ผู้ตัดสินอันเดร มาร์ริเนอร์ (เบอร์มิงแฮม)[1]
ผู้ชม0 คน[note 1]
2019
2021

เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2020 (หรือ เดอะเอฟเอคอมมิวนิตีชิลด์ 2020 ซัพพอเต็ดบาย แมคโดนัลด์ ตามชื่อผู้สนับสนุน) เป็นการแข่งขันฟุตบอล เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ ครั้งที่ 98 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีระหว่างทีมผู้ชนะ พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2019–20 ลิเวอร์พูล แข่งขันกับทีมขนะเลิศ เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2019–20 อาร์เซนอล โดยการแข่งขันจัดขึ้นในวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2020

แมนเชสเตอร์ซิตี คือทีมแชมป์เก่าจากการแข่งขันเมื่อครั้งที่ผ่านมาในปี ค.ศ. 2019, แต่ไม่ได้ผ่านเข้าลงเล่นในครั้งนี้ หลังจากที่พวกเขาล้มเหลวในการแข่งขัน พรีเมียร์ลีก และเอฟเอคัพ โดยนี้เป็นการพบกันครั้งที่สี่ระหว่างทั้งสองสโมสรในการแข่งขันแชริตี/คอมมิวนิตีชีลด์ ซึ่งก่อนหน้านี้ ลิเวอร์พูล ได้ชนะในปี 1979, 1989 ขณะที่ อาร์เซนอล ชนะในปี 2002[2]

การแข่งขันจัดขึ้น ณ สนามกีฬาเวมบลีย์ ในกรุงลอนดอน หลังจาก วีแมนเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2020 ถูกจัดขึ้นก่อนหน้า 4 ชั่วโมงที่สนามเดียวกัน, โดยจัดขึ้นโดยไม่มีผู้เข้าชมในสนามเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของการแข่งขันแชริตี/คอมมิวนิตีชีลด์ เพื่อป้องกันการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา 2019[3][4] โดย อาร์เซนอล ชนะเลิศการแข่งขันในปีนี้หลังจากสามารถเอาชนะ ลิเวอร์พูล ในช่วงการดวลลูกโทษได้ 5–4 หลังจากเสมอกันในเวลาปกติ 1–1 ซึ่งเป็นแชมป์สมัยที่ 16 ของสโมสร และเป็นแชมป์เดี่ยวสมัยที่ 15[5][6]

ภูมิหลัง[แก้]

แมตช์[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รายละเอียด[แก้]

อาร์เซนอล
ลิเวอร์พูล
GK 26 อาร์เจนตินา เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
CB 16 อังกฤษ ร็อบ โฮลดิง
CB 23 บราซิล ดาวิด ลูอีซ
CB 3 สกอตแลนด์ คีแรน เทียร์นีย์ Substituted off in the 83 นาที 83'
RM 2 สเปน เอกตอร์ เบเยริน Substituted off in the 58 นาที 58'
CM 25 อียิปต์ มุฮัมมัด อันนินนี
CM 34 สวิตเซอร์แลนด์ กรานิต จากา
LM 15 อังกฤษ เอนส์ลีย์ เมตแลนด์-ไนลส์
RW 7 อังกฤษ บูกาโย ซากา Substituted off in the 82 นาที 82'
CF 30 อังกฤษ เอ็ดดี เอ็นเคเตียห์ Substituted off in the 82 นาที 82'
LW 14 กาบอง ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์ (กัปตัน)
ผู้เล่นตัวสำรอง:
GK 1 เยอรมนี แบนท์ เลโน
DF 4 ฝรั่งเศส วีลียัม ซาลีบา
DF 17 โปรตุเกส แซดริก ซูวารึช Substituted on in the 58 minute 58'
DF 31 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซอัด คอลาชินัตส์ Substituted on in the 83 minute 83'
MF 28 อังกฤษ โจ วิลล็อก Substituted on in the 82 minute 82'
MF 32 อังกฤษ เอมีล สมิท ราว
MF 54 อังกฤษ เจมส์ โอลายินกา
FW 24 อังกฤษ รีสส์ เนลสัน Substituted on in the 82 minute 82'
FW 47 อังกฤษ ไทรีซ จอห์น-จูเลส
ผู้จัดการทีม:
สเปน มีเกล อาร์เตตา
GK 1 บราซิล อาลีซง
RB 76 เวลส์ เนโก วิลเลียมส์ Substituted off in the 59 นาที 59'
CB 12 อังกฤษ โจ โกเมซ
CB 4 เนเธอร์แลนด์ เฟอร์จิล ฟัน ไดก์
LB 26 สกอตแลนด์ แอนดรูว์ รอเบิร์ตสัน
CM 7 อังกฤษ เจมส์ มิลเนอร์ (กัปตัน) โดนใบเหลือง ใน 57 นาที 57' Substituted off in the 59 นาที 59'
CM 3 บราซิล ฟาบิญญู
CM 5 เนเธอร์แลนด์ จอร์จีนีโย ไวนัลดึม Substituted off in the 90+2 นาที 90+2'
RW 11 อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์
CF 9 บราซิล โรแบร์ตู ฟีร์มีนู Substituted off in the 83 นาที 83'
LW 10 เซเนกัล ซาดีโย มาเน
ผู้เล่นตัวสำรอง:
GK 13 สเปน อาเดรียน
DF 21 กรีซ กอสตัส ซีมีกัส
DF 89 ฝรั่งเศส บิลลี คูแมทิออ
MF 8 กินี นาบี เกอีตา Substituted on in the 59 minute 59'
MF 16 เซอร์เบีย มาร์คอ กรูยิช
MF 17 อังกฤษ เคอร์ติส โจนส์ Substituted on in the 83 minute 83'
MF 67 อังกฤษ ฮาวี เอลเลียต
FW 18 ญี่ปุ่น ทากูมิ มินามิโนะ Substituted on in the 59 minute 59'
FW 24 อังกฤษ เรียน บรูว์สเตอร์ Substituted on in the 90+2 minute 90+2'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี เยือร์เกิน คล็อพ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ดาวิด ลูอีซ (อาร์เซนอล)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
Mark Scholes (Berks & Bucks)
Marc Perry (Birmingham)
ผู้ตัดสินที่สี่:[1]
Andrew Madley (West Riding)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:[1]
Dan Robathan (Norfolk)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[1]
David Coote (Nottinghamshire)
ผู้ช่วยของผู้ตัดสินวิดีโอ:[1]
Dan Cook (Hampshire)

กฎการแข่งขัน[8]

  • แข่ง 90 นาที
  • ดวลลูกโทษ หากเสมอกันใน 90 นาที
  • มีชื่อเปลี่ยนตัวได้ 9 คน
  • สามารถเปลี่ยนตัวได้ 6 คน

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 ไม้่มีผู้เข้าชมในสนาม เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดทั่วของไวรัสโรโรนา 2019[7]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Rebecca Welch and Andre Marriner to take charge of Community Shield games at Wembley". The Football Association. 17 August 2020. สืบค้นเมื่อ 28 August 2020.
  2. Ross, James (5 August 2019). "England — List of FA Charity/Community Shield Matches". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 27 August 2020.
  3. "The FA Community Shield History". TheFA.com. The Football Association. สืบค้นเมื่อ 18 May 2019.
  4. "BBC to broadcast Women's Community Shield double-header at Wembley". BBC Sport. 12 August 2020. สืบค้นเมื่อ 27 August 2020.
  5. "ARSENAL OR CHELSEA TO PLAY PREMIER LEAGUE CHAMPIONS IN FA COMMUNITY SHIELD AT WEMBLEY". TheFA.com. The Football Association. สืบค้นเมื่อ 30 July 2020.
  6. "The FA Community Shield History". TheFA.com. The Football Association. สืบค้นเมื่อ 18 May 2019.
  7. "First ever double header men's and women's Community Shield to be played at Wembley". The Football Association. 12 August 2020. สืบค้นเมื่อ 28 August 2020.
  8. "Rules of the Football Association Community Shield" (PDF). TheFA.com. The Football Association. สืบค้นเมื่อ 6 August 2017.