ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติสุนทรวัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/452
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/452
}}
}}
'''อุทยานแห่งชาติสุนทรพน''' เป็น[[อุทยานแห่งชาติ]] [[เขตรักษาพันธุ์เสือ]] และ[[เขตสงวนชีวมณฑล]]ใน[[รัฐเบงกอลตะวันตก]] [[ประเทศอินเดีย]] โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[สุนทรพน]]บน[[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา]]และติดกับป่าสงวนสุนทรพนใน[[ประเทศบังกลาเทศ]] ดินดอนสามเหลี่ยมแห่งนี้ถูกปกคลุมด้วย[[ป่าชายเลน]]หนาแน่นและเป็นหนึ่งในเขตสงวน[[เสือโคร่งเบงกอล]]ที่ใหญ่ที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของนก [[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] และสัตว์เลื้อยคลานนานาชนิดซึ่งรวมถึง[[จระเข้น้ำเค็ม]]
'''อุทยานแห่งชาติสุนทรพน''' เป็น[[อุทยานแห่งชาติ]] [[เขตรักษาพันธุ์เสือ]] และ[[เขตสงวนชีวมณฑล]]ใน[[รัฐเบงกอลตะวันตก]] [[ประเทศอินเดีย]] โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[สุนทรพน]]บน[[สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา|ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา]]และติดกับป่าสงวนสุนทรพนใน[[ประเทศบังกลาเทศ]] ดินดอนสามเหลี่ยมแห่งนี้ถูกปกคลุมด้วย[[ป่าชายเลน]]หนาแน่นและเป็นหนึ่งในเขตสงวน[[เสือโคร่งเบงกอล]]ที่ใหญ่ที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของนก [[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] และสัตว์เลื้อยคลานนานาชนิดซึ่งรวมถึง[[จระเข้น้ำเค็ม]]


พื้นที่ที่เป็นอุทยานแห่งชาติสุนทรพนในปัจจุบันได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่หลักของเขตรักษาพันธุ์เสือสุนทรพนใน พ.ศ. 2516 และของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหนึ่งใน พ.ศ. 2520 ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[แหล่งมรดกโลก]]ของ[[ยูเนสโก]]ใน พ.ศ. 2530<ref>{{Cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/452|title=Sundarbans National Park|accessdate=2010-11-06|publisher=World Heritage: Unesco.org}}</ref><ref>{{Cite web|url=http://whc.unesco.org/archive/advisory_body_evaluation/452.pdf|format=pdf|title= Sundarbans National Park|accessdate=2010-11-06|publisher=Unesco}}</ref> และได้รับการกำหนดเป็น[[แหล่งแรมซาร์|พื้นที่ชุ่มน้ำแรมซาร์]]ตั้งแต่ พ.ศ. 2562<ref name="RSIS">{{Cite web|title=Sundarban Wetland|website=[[Ramsar Convention|Ramsar]] Sites Information Service|url=https://rsis.ramsar.org/ris/2370 |accessdate=14 February 2019}}</ref>
พื้นที่ที่เป็นอุทยานแห่งชาติสุนทรพนในปัจจุบันได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่หลักของเขตรักษาพันธุ์เสือสุนทรพนใน พ.ศ. 2516 และของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหนึ่งใน พ.ศ. 2520 ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[แหล่งมรดกโลก]]ของ[[ยูเนสโก]]ใน พ.ศ. 2530<ref>{{Cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/452|title=Sundarbans National Park|accessdate=2010-11-06|publisher=World Heritage: Unesco.org}}</ref><ref>{{Cite web|url=http://whc.unesco.org/archive/advisory_body_evaluation/452.pdf|format=pdf|title= Sundarbans National Park|accessdate=2010-11-06|publisher=Unesco}}</ref> และได้รับการกำหนดเป็น[[แหล่งแรมซาร์|พื้นที่ชุ่มน้ำแรมซาร์]]ตั้งแต่ พ.ศ. 2562<ref name="RSIS">{{Cite web|title=Sundarban Wetland|website=[[Ramsar Convention|Ramsar]] Sites Information Service|url=https://rsis.ramsar.org/ris/2370 |accessdate=14 February 2019}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:13, 11 กรกฎาคม 2562

อุทยานแห่งชาติสุนทรพน *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
เสือโคร่งเบงกอลจากเขตรักษาพันธุ์เสือสุนทรพน
ประเทศ อินเดีย
ภูมิภาค **เอเชียและแปซิฟิก
ประเภทธรรมชาติ
เกณฑ์พิจารณา(ix), (x)
อ้างอิง452
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2530 (คณะกรรมการสมัยที่ 11)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

อุทยานแห่งชาติสุนทรพน เป็นอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์เสือ และเขตสงวนชีวมณฑลในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย โดยเป็นส่วนหนึ่งของสุนทรพนบนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคาและติดกับป่าสงวนสุนทรพนในประเทศบังกลาเทศ ดินดอนสามเหลี่ยมแห่งนี้ถูกปกคลุมด้วยป่าชายเลนหนาแน่นและเป็นหนึ่งในเขตสงวนเสือโคร่งเบงกอลที่ใหญ่ที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของนก สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์เลื้อยคลานนานาชนิดซึ่งรวมถึงจระเข้น้ำเค็ม

พื้นที่ที่เป็นอุทยานแห่งชาติสุนทรพนในปัจจุบันได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่หลักของเขตรักษาพันธุ์เสือสุนทรพนใน พ.ศ. 2516 และของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหนึ่งใน พ.ศ. 2520 ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกใน พ.ศ. 2530[1][2] และได้รับการกำหนดเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำแรมซาร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2562[3]

อ้างอิง

  1. "Sundarbans National Park". World Heritage: Unesco.org. สืบค้นเมื่อ 2010-11-06.
  2. "Sundarbans National Park" (pdf). Unesco. สืบค้นเมื่อ 2010-11-06.
  3. "Sundarban Wetland". Ramsar Sites Information Service. สืบค้นเมื่อ 14 February 2019.