ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเอกสารอ้างอิง ,จัดเรียงหน้าใหม่ ,เพิ่มเติมข้อมูลให้ทันสมัย และลบเนื้อหาที่ไม่จำเป็นและไม่มีแหล่งอ้างอิงออก เนื่องจากอาจเข้าข่ายการโฆษณาสถานศึกษาได้
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
| name = โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
บรรทัด 8: บรรทัด 7:
| caption =
| caption =
| address =289 หมู่ 5 [[ตำบลหัวรอ]] [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]]
| address =289 หมู่ 5 [[ตำบลหัวรอ]] [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]]
| abbr= ต.อ.
| abbr= ต.อ. / TUN
| code = 1007650104
| code = 1065360462
| establish_date = {{เทาเล็ก|โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2517|5|17}}
| establish_date = [[17 พฤษภาคม 2517 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลง 20 กุมพาพันธ์ 2546 ]]
{{เทาเล็ก|โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ}}<br>{{วันเกิด-อายุ|2546|2|22}}
| founder = [[ม.ล.ปิ่น มาลากุล]] [[นางพรรณี เพ็งเนตร ]] [[นายมนู วัฒนไพบูลย์ ]]
| founder = [[นางพรรณี เพ็งเนตร ]] ,[[นายมนู วัฒนไพบูลย์ ]]
| type = [[โรงเรียนรัฐ]] สังกัด สพฐ.
| type = [[โรงเรียนรัฐ]] สังกัด สพฐ.
| group = สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 [[กระทรวงศึกษาธิการ]]
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ]]
| class_range = มัธยมศึกษาตอนปลาย
| class_range = มัธยมศึกษาตอนปลาย
| head_name = ผู้อำนวยการโรงเรียน
| headman = [[นายชูชาติ อุทะโก]]
| head = [[นายวิโรจน์ รอดสงฆ์]]
| motto = '''ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม''' <br> นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตญฺญู กตเวทิตา<br><small> (ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี) </small>
| motto = '''ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม''' <br> นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตญฺญู กตเวทิตา<br><small> (ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี) </small>
| song = ปิ่นหทัย
| song = ปิ่นหทัย
บรรทัด 23: บรรทัด 24:
| website = http://www.tn.ac.th
| website = http://www.tn.ac.th
| footnote = ต้นไม้ประจำโรงเรียน - [[จามจุรี]]
| footnote = ต้นไม้ประจำโรงเรียน - [[จามจุรี]]
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน
| นักเรียน = 1,700 คน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย|ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|JPN}} [[ภาษาญี่ปุ่น|ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]<br>{{flagicon|KOR}} [[ภาษาเกาหลี|ภาษาเกาหลี]]
| students = 1,196 คน {{เทาเล็ก| (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)}}<ref> https://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1065360462&Area_CODE=101739 จำนวนนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ</ref>
}}
}}


'''โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ''' หรือชื่อเดิม '''โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา''' เปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทำการสอนในรูปแบบ[[สหศึกษา]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดพิษณุโลก]] และยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพิษณุโลก ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 289 หมู่ 5 ถนนเอกาทศรถ ตำบลหัวรอ [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] บนพื้นที่ราชพัสดุของกระทรวงกลาโหม มีเนื้อที่ 200 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับ [[โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก]] ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพิษณุโลก นอกจากนี้ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ยังเป็นที่ตั้งของ[[โรงเรียนกีฬาจังหวัดพิษณุโลก]] สนามกีฬาจังหวัดพิษณุโลก สถานีตำรวจภูธรเมืองพิษณุโลก และกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก
[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ]] เดิมชื่อ '''โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา''' เปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะในระดับ[[ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย]] (ม.4-ม.6) ในรูปแบบ[[สหศึกษา]] ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 289 หมู่ 5 [[ถนนเอกาทศรถ]] [[ตำบลหัวรอ]] [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] โดย[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อ โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2546


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เดิมชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 289 หมู่ 5 ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง [[จังหวัดพิษณุโลก]] เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่ 3 ของจังหวัดพิษณุโลกซึ่งได้ทำการเปิดเรียนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2517 สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2511 [[ก่อ สวัสดิพาณิชย์|ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์]] อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา (ต่อมาเป็น[[กรมสามัญศึกษา]]) ในขณะนั้นได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม โดยมีนายมานะ เอี่ยมสกุล เป็นอาจารย์ใหญ่และและได้ปรารภกับ นายมานะ เอี่ยมสกุล ว่าต้องการจะได้ที่ดินประมาณ 200 ไร่ เพื่อก่อตั้งวิทยาลัยชั้นสูงหรือโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้นในจังหวัดพิษณุโลกอีกหนึ่งแห่ง ต่อมานายละเมียน อัมพวะสิริ นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมในสมัยนั้น ได้ทราบจากนายประเสริฐ สิทธิชัย ผู้จัดการโรงงานพิษณุโลกองค์การทอผ้าว่ามีพื้นที่ว่างเปล่าเป็นพื้นที่ราชพัสดุ ซึ่งกระทรวงกลาโหมครอบคลุมดูแลอยู่ประมาณ 200 ไร่เศษ ตั้งอยู่ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก นายมานะ เอี่ยมสกุล ได้แจ้งให้อธิบดีกรมสามัญศึกษาทราบ ต่อมากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ติดต่อขอใช้พื้นที่ดังกล่าวจากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เพื่อเป็นสถานที่ก่อตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาอีกหนึ่งแห่ง อธิบดีกรมสามัญศึกษาได้แจ้งให้อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทราบว่า กรมสามัญศึกษาอนุมัติให้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกบนพื้นที่ดังกล่าวอีกหนึ่งแห่ง และได้เปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2517 โดยนายประสิทธิ์ มากลิ่น ดำรงตำแหน่ง ผู้บริหารคนแรกและได้เปิดรับนักเรียน ครั้งแรกระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 4 ห้อง 186 คน ครูอาจารย์จำนวน 7 คน โดยได้ฝากที่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมก่อน ต่อมาในวันที่ 23 มิถุนายน 2518 นายประสิทธิ์มากลิ่น อาจารย์ใหญ่คนแรกได้ทำการย้ายสถานที่เรียนจากโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม มาทำการเรียน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน
[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ]] เดิมชื่อ [[โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา]] ตั้งอยู่เลขที่ 289 หมู่ 5 ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง [[จังหวัดพิษณุโลก]] เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่ 3]] ของ[[จังหวัดพิษณุโลก]] ซึ่งได้ทำการเปิดเรียนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2517 สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2511 [[ก่อ สวัสดิพาณิชย์|ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์]] อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา (ต่อมาเป็น[[กรมสามัญศึกษา]]) ในขณะนั้นได้เดินทางมาตรวจเยี่ยม[[โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม]] โดยมี[[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและได้ปรารภกับ [[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] ว่าต้องการจะได้ที่ดินประมาณ 200 ไร่ เพื่อก่อตั้ง[[วิทยาลัยชั้นสูง]]หรือโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ขึ้นในจังหวัดพิษณุโลกอีกหนึ่งแห่ง ต่อมา[[นายละเมียน อัมพวะสิริ]] นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมในสมัยนั้น ได้ทราบจาก[[นายประเสริฐ สิทธิชัย]] ผู้จัดการโรงงานพิษณุโลกองค์การทอผ้า ว่ามีพื้นที่ว่างเปล่าเป็นพื้นที่ราชพัสดุ ซึ่ง[[กระทรวงกลาโหม]]ควบคลุมดูแลอยู่ประมาณ 200 ไร่เศษ ตั้งอยู่ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก [[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] ได้แจ้งให้อธิบดีกรมสามัญศึกษาทราบ ต่อมากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ติดต่อขอใช้พื้นที่ดังกล่าวจาก[[กรมธนารักษ์]] [[กระทรวงการคลัง]] เพื่อเป็นสถานที่ก่อตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาอีกหนึ่งแห่ง อธิบดีกรมสามัญศึกษาได้แจ้งให้อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทราบว่า กรมสามัญศึกษาอนุมัติให้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกบนพื้นที่ดังกล่าวอีกหนึ่งแห่ง และได้เปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2517 โดย[[นายประสิทธิ์ มากลิ่น]] ดำรงตำแหน่งผู้บริหารคนแรกและได้เปิดรับนักเรียน ครั้งแรกระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 4 ห้อง 186 คน ครูอาจารย์จำนวน 7 คน โดยได้ฝากที่[[โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม]]ก่อน ต่อมาในวันที่ 23 มิถุนายน 2518 [[นายประสิทธิ์มากลิ่น]] อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาคนแรก ได้ทำการย้ายสถานที่เรียนจากโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม มาทำการเรียน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน


โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ขยายตัวเพื่อรองรับนักเรียน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างรวดเร็ว ต่อมากระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการจัดการศึกษาให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกัน แม้จะอยู่ส่วนใดของประเทศไทยก็ตาม อีกทั้งกรมสามัญศึกษา มีนโยบายที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาและต้องการที่จะมีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย ทำให้เกิดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.สกลนคร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ ที่ จ.นครศรีธรรมราช และมีดำริที่จะตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่ จ.พิษณุโลก
โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ขยายตัวเพื่อรองรับนักเรียน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างรวดเร็ว ต่อมา[[กระทรวงศึกษาธิการ]]มีนโยบายในการจัดการศึกษาให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกัน แม้จะอยู่ส่วนใดของประเทศไทยก็ตาม อีกทั้งกรมสามัญศึกษา มีนโยบายที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาและต้องการที่จะมีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย ทำให้เกิดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.สกลนคร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ ที่ จ.นครศรีธรรมราช และมีดำริที่จะตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่ จ.พิษณุโลก

ในปี พ.ศ. 2542 ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายจุฬา ทารักษา ได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คือ นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ตอบรับเป็นเบื้องต้น โดยรับโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาเข้าเป็นเครือข่ายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยได้ดำเนินการร่วมกันผ่านกรมสามัญศึกษาเพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ แต่ได้ระงับไปช่วงหนึ่งเพราะผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เกษียณอายุราชการ ต่อมาผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายมนู วัฒนไพบูลย์ ได้รับทราบการขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และได้รับนโยบายของกรมสามัญศึกษาในการประสานงานจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา จังหวัดพิษณุโลก เพราะเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือมีสถาบันอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันราชภัฏ สถาบันราชมงคล ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ นางพรรณี เพ็งเนตร เพื่อเข้าเป็นเครือข่ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ตอบรับไม่ขัดข้องในการขอเป็นเครือข่ายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 นายปองพล อดิเรกสาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้นได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ซึ่งนับเป็นเกียรติอย่างสูงต่อชาวจังหวัดพิษณุโลก


ในปี พ.ศ. 2542 ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา]] [[นายจุฬา ทารักษา]] ได้ประสานงานกับผู้อำนวยการ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] คือ [[นายอัศวิน วรรณวินเวศร์]] เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ตอบรับเป็นเบื้องต้น โดยรับโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาเข้าเป็นเครือข่ายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยได้ดำเนินการร่วมกันผ่านกรมสามัญศึกษาเพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ แต่ได้ระงับไปช่วงหนึ่งเพราะผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา [[นายอัศวิน วรรณวินเวศร์]] เกษียณอายุราชการ ต่อมาผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา [[นายมนู วัฒนไพบูลย์]] ได้รับทราบการขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และได้รับนโยบายของกรมสามัญศึกษาในการประสานงานจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา จังหวัดพิษณุโลก เพราะเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือมีสถาบันอุดมศึกษา เช่น [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] สถาบันราชภัฏ สถาบันราชมงคล ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ [[นางพรรณี เพ็งเนตร]] เพื่อเข้าเป็นเครือข่ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ตอบรับไม่ขัดข้องในการขอเป็นเครือข่ายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 [[นายปองพล อดิเรกสาร]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] ในขณะนั้นได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ<ref> http://www.tn.ac.th/tn60/index.php/2012-11-21-12-54-27/item ประวัติโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ</ref>
== สัญลักษณ์ ==
== สัญลักษณ์ ==
; ตราสัญลักษณ์ : พระเกี้ยว
; ตราสัญลักษณ์ : พระเกี้ยว
บรรทัด 50: บรรทัด 52:
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-ญี่ปุ่น
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-ญี่ปุ่น
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-เกาหลี (เปิดรับสมัคร 2560)
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-เกาหลี (เปิดรับสมัคร 2560)

== ความเป็นเลิศทางวิชาการ ==
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เป็นโรงเรียนชั้นนำในจังหวัดพิษณุโลก สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศในระบบแอดมิชชั่น โควตาและรับตรงของ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ เป็นจำนวนมากในแต่ละปี นอกจากนั้นยังได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน รางวัลรักการอ่านสานสู่ฝัน โครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน ฯลฯ และรางวัลชนะเลิศระดับภูมิภาคระดับประเทศ มากมายต่างเป็นเครื่องการันตี ดั่งเอกลักษณ์ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือที่ว่า "ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม"

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จึงเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ชั้นนำของจังหวัดพิษณุโลก ตลอดจนเป็นโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาส่วนภูมิภาคขนาดใหญ่ ถึงแม้ว่าจะก่อตั้งเมื่อปี 2546 เป็นน้องคนสุดท้องของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาส่วนภูมิภาคก็ตาม

== การก่อตั้ง ==
ประมาณ 60 ปีที่ผ่านมา นักการศึกษาดีเด่นของโลก [[ปิ่น มาลากุล|ศาสตราจารย์ ม.ล.ปิ่น มาลากุล]] ได้มองเห็นความสำคัญของการให้การศึกษาแก่เยาวชน จึงได้ตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร และสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับของประชาชนทั้งประเทศ และเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการการทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่จะกระจายโอกาสทางการศึกษาให้แก่เยาวชนทุกภาคของประเทศไทยให้มีโอกาสในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกับส่วนกลาง และได้ดำริที่จะตั้งวิทยาลัยชั้นสูง (Junior College) หรือเตรียมอุดมศึกษาที่พิษณุโลกศึกษา[[ไฟล์:หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล1.jpg|200px|right|[[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]]]]

== เพลงประจำสถาบัน ==
ปิ่นหทัย
ประวัติเพลงประจำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เดิมทีเดียว เพลงประจำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคือ เพลงเตรียมอุดมศึกษา ที่มีเนื้อร้องขึ้นว่า “เราเตรียมอุดมศึกษา ...” เนื้อร้องของเพลงนี้เป็นผลงานของอดีตอาจารย์ผู้ล่วงลับ นิรันตร์ นวมารค ผู้เป็นตำนานเล่าขานกันสืบมาว่าสอน สามัคคีเภทคำฉันท์ ตลอดทั้งเรื่องได้โดยไม่ต้องเปิดตัวบทเลย การที่เพลงประจำโรงเรียนเปลี่ยนมาเป็น เพลงปิ่นหทัย นั้น ยังไม่มีผู้ใดสืบได้ชัดว่าเริ่มมาแต่เมื่อใดและด้วยเหตุผลกลใด อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนเชื่อว่าสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เพลงปิ่นหทัย “ขึ้นแท่น” และรักษาตำแหน่งนี้ได้อย่างยาวนาน นอกเหนือไปจากสถานะพิเศษอันได้แก่การเป็นผลงานของนักเรียนเตรียมฯ เลขประจำตัว ๑ คือคุณชอุ่ม ปัญจพรรค์ และการกำหนดให้ต้องร้องทุกวันก่อนเข้าเรียนตั้งแต่สมัยผู้อำนวยการอัศวิน วรรณวินเวศร์แล้ว ยังมีความงดงามทางภาษาหรือวรรณศิลป์ที่สามารถขับความรักความศรัทธาที่มีต่อสถานประสาทวิชาแก่ตนได้อย่างคมเข้มและมีชีวิตชีวาเป็นอีกปัจจัยหนึ่งด้วย ในข้อเขียนนี้ ผู้เขียนจะได้อธิบายกลวิธีทางวรรณศิลป์ที่ผู้แต่งเนื้อร้องได้แฝงไว้อย่างแนบเนียน เพื่อให้เพื่อนนักเรียนแลเห็นความงามและเกิดความซาบซึ้งได้ด้วยตนเอง

อนึ่ง ผู้เขียนได้กำกับชื่อโวหารภาพพจน์ไว้ เพราะน่าจะช่วยให้ผู้อ่านจับประเด็นได้แม่นยำรัดกุมขึ้น แต่สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยก็มีคำอธิบายอย่างสั้น ๆ ประกอบพอเข้าใจ หวังว่าจะไม่เป็นที่รกหูรกตาของบรรดาผู้รู้

* ความหมาย
"ปิ่นหทัย"

ความหมายตามอักษรของความว่า ปิ่น คือ “เครื่องประดับสำหรับปักผมที่มุ่นเป็นจุก” ในวัฒนธรรมตะวันออกเราถือว่าผมหรือศีรษะเป็นส่วนที่ตั้งอยู่บนสุดของร่างกาย ดังนั้นจึงมีความหมายขยายออกโดยปริยายว่า “จอม, ยอด” มักใช้ประกอบกับคำอื่นเพื่อให้ความหมายว่าพระเจ้าแผ่นดินเช่น พระปิ่นภพลบโลกนาถา, ปิ่นเกศประกอบกรณิย์กิจ

หทัย คือหัวใจ ในที่นี้ใช้ในความหมายเชิงนามธรรม คือความรู้สึกของบุคคล เช่น “หัวใจของเธอแทบจะแหลกสลายไปเมื่อรู้ข่าวว่า...” เมื่อรวมเป็น ปิ่นหทัย จึงมีความหมายว่า สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความรักเทิดทูนอย่างสูงสุด ชื่อนี้นอกจากเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ อุปลักษณ์ ที่นำคำว่า ปิ่น มาประกอบกับคำอื่นและให้ความหมายที่แหวกไปจากขนบเดิม ๆ แล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งนัยยะแห่งความรักและความกตัญญูกตเวทีอันเป็นคติธรรมประจำโรงเรียน คือระลึกนึกถึงพระคุณของโรงเรียนในฐานะที่เป็นยอดของหัวใจทีเดียว และเมื่อเราพิจารณาเนื้อร้องในลำดับต่อไป ก็จะเห็นว่าการตั้งชื่อว่า ปิ่นหทัย นี้นับว่าเหมาะสมเป็นที่สุดเพราะอาจครอบคลุมใจความของเนื้อร้องไว้ได้ทั้งหมดอีกด้วย

เนื้อเพลง
{|
| วันเดือนปีที่ผ่านมา
| โอ้ ต.อ.จ๋ารักยังแจ่มจ้าไม่เลือน
|-
| สระน้ำคูบัวตามเตือน
| สงวนบุญหนุนเลื่อนเสียงครูเสียงเพื่อนแจ่มใจ
|-
| ยามเรียนลือยามเล่นเด่นชื่อ
| ต.อ.ระบือลือสนั่นลั่นไกล
|-
| คิดถึงพระคุณอาจารย์ยิ่งใด
| เป็นปิ่นหทัยให้ร่มเย็นใจเสมอมา
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน|||รักครูอาจารย์รักเพื่อนถ้วนหน้า
|-
| รักจริงรักจริงรักสิงวิญญาณ์|||รักต.อ.ยิ่งชีวารักจนดินฟ้ามลาย
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน|||รักครูอาจารย์รักเพื่อนถ้วนหน้า
|-
| รักจริงรักจริงรักสิงวิญญาณ์|||รักต.อ.ประหนึ่งว่าปิ่นปักจุฑานั่นเอย
|-
|}
เพลงมาร์ชถิ่นเตรียมอุดม

{|
| ถิ่นเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ||| งามเหลือเจิดจ้ายิ่งใหญ่
|-
| เหล่าศิษย์ต.อ.อำไพ |||รวมใจน้องพี่เนานาน
|-
| เมื่อยามเรียนมุ่งมั่นฟันฝ่า||| กีฬาหรือเล่นสุขสันต์
|-
| รักเกียรติชื่อเสียงนิรันดร์ ||| ผูกพันมั่นคงกลมเกลียว
|-
| ธงชมพูพราวพริ้วปลิวไสว ||| จะคงอยู่คู่ไทยเด็ดเดี่ยว
|-
| กตัญญูแน่วแน่แท้เชียว ||| พระเกี้ยวงามเด่นเป็นคุณ
|-
| มีศรัทธาครูบาอาจารย์ ||| ยึดมั่นเอื้อเฟื้อเกื้อหนุน
|-
| ศิษย์หวังตั้งจิตแทนคุณ ||| อบอุ่นอ้อมอกเตรียมอุดม
|-
|}
เพลง มาร์ช ต.อ.
{|
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ประสาทวิชาให้ข้าทั้งหลาย
|-
| ต.อ. ศูนย์รวมจิตใจ||| อยู่แห่งใดยังรักมิเลือน
|-
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ศิษย์บูชาพระคุณใหญ่หลวง
|-
| ให้ความรู้แก่ข้า จริยาสอนเตือน||| เป็นเสมือนบ้านที่รักพักพิง
|-
| ยามเรียน เราเรียนเป็นเลิศ||| กีฬาก่อเกิดความสามัคคี
|-
| ธงสีชมพูดูเด่น โบกพลิ้วพาศิษย์เปรมปรีดิ์||| ให้โชคดีนำเกียรติสู่ ต.อ.
|-
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ศิษย์บูชาพระคุณมากหลาย
|-
| จะระลึกจนวันตาย อุทิศกายทำสิ่งดี||| สมศักดิ์ศรีเป็นศิษย์เตรียมอุดมฯ
|}
เพลง มาร์ช ต.อ.
{|
| เตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ
| ชื่อแห่งความเชื่อมั่นสถานศึกษา
|-
| ตราพระเกี้ยวประดับไว้แนบอุรา
| น้อมจิตบูชา ศรัทธาในฤดี
|-
| ความเป็นเลิศทางวิชาการ
| มีคุณธรรมกตัญญูกตเวที
|-
| ยิ้มไหว้ทักทาย ประพฤติตนเป็นคนดี
| เกีรติยศและศักดิ์ศรีคือสิ่งที่เราภาคภูมิใจ
|-
| *สีชมพูงดงามสดใส
| หลอมรวมใจลูกต.อ.เราน้องพี่
|-
| ใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ของจามจุรี
| รักสามัคคีชีวีผูกพัน
|-
| ชาติ ศาสนาเหนือยิ่งสิ่งใด
|เทิดทูนไท้องค์ราชันเป็นมิ่งขวัญ
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน
| ร่วมสร้างสรรค์ให้ชื่อเสียง เกริกก้อง เกรียงไกร
|-
| (ซ้ำ *)
|}


== อาคารเรียนภายในโรงเรียน ==
== อาคารเรียนภายในโรงเรียน ==
บรรทัด 290: บรรทัด 180:
| valign = "top" style="background: #F19CBB" |[[พ.ศ. 2556]] - ปัจจุบัน
| valign = "top" style="background: #F19CBB" |[[พ.ศ. 2556]] - ปัจจุบัน
|}
|}

== โรงเรียนในเครือ ==
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:31, 20 ธันวาคม 2561

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
Traim Udom Suksa School Of The North
ไฟล์:พระเกี้ยวเตรียมอุดมศึกษา.png
ที่ตั้ง
ข้อมูล
ชื่ออื่นต.อ. / TUN
ประเภทโรงเรียนรัฐ สังกัด สพฐ.
คำขวัญความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม
นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตญฺญู กตเวทิตา
(ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี)
สถาปนาโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา
17 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 (49 ปี) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 (21 ปี)
ผู้ก่อตั้งนางพรรณี เพ็งเนตร ,นายมนู วัฒนไพบูลย์
หน่วยงานกำกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รหัส1065360462
ผู้อำนวยการโรงเรียนนายวิโรจน์ รอดสงฆ์
ระดับปีที่จัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวนนักเรียน1,196 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)[1]
ภาษาที่ใช้เป็นสื่อการสอนภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน ไทย ภาษาไทย
สหราชอาณาจักร ภาษาอังกฤษ
ญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่น
จีน ภาษาจีน
เกาหลีใต้ ภาษาเกาหลี
สี███ สีชมพู
เพลงปิ่นหทัย
เว็บไซต์http://www.tn.ac.th
ต้นไม้ประจำโรงเรียน - จามจุรี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เดิมชื่อ โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ในรูปแบบสหศึกษา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 289 หมู่ 5 ถนนเอกาทศรถ ตำบลหัวรอ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อ โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2546

ประวัติ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เดิมชื่อ โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 289 หมู่ 5 ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่ 3 ของจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งได้ทำการเปิดเรียนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2517 สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2511 ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์ อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา (ต่อมาเป็นกรมสามัญศึกษา) ในขณะนั้นได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม โดยมีนายมานะ เอี่ยมสกุล เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและได้ปรารภกับ นายมานะ เอี่ยมสกุล ว่าต้องการจะได้ที่ดินประมาณ 200 ไร่ เพื่อก่อตั้งวิทยาลัยชั้นสูงหรือโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ขึ้นในจังหวัดพิษณุโลกอีกหนึ่งแห่ง ต่อมานายละเมียน อัมพวะสิริ นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมในสมัยนั้น ได้ทราบจากนายประเสริฐ สิทธิชัย ผู้จัดการโรงงานพิษณุโลกองค์การทอผ้า ว่ามีพื้นที่ว่างเปล่าเป็นพื้นที่ราชพัสดุ ซึ่งกระทรวงกลาโหมควบคลุมดูแลอยู่ประมาณ 200 ไร่เศษ ตั้งอยู่ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก นายมานะ เอี่ยมสกุล ได้แจ้งให้อธิบดีกรมสามัญศึกษาทราบ ต่อมากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ติดต่อขอใช้พื้นที่ดังกล่าวจากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เพื่อเป็นสถานที่ก่อตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาอีกหนึ่งแห่ง อธิบดีกรมสามัญศึกษาได้แจ้งให้อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทราบว่า กรมสามัญศึกษาอนุมัติให้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกบนพื้นที่ดังกล่าวอีกหนึ่งแห่ง และได้เปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2517 โดยนายประสิทธิ์ มากลิ่น ดำรงตำแหน่งผู้บริหารคนแรกและได้เปิดรับนักเรียน ครั้งแรกระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 4 ห้อง 186 คน ครูอาจารย์จำนวน 7 คน โดยได้ฝากที่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมก่อน ต่อมาในวันที่ 23 มิถุนายน 2518 นายประสิทธิ์มากลิ่น อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาคนแรก ได้ทำการย้ายสถานที่เรียนจากโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม มาทำการเรียน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน

โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ขยายตัวเพื่อรองรับนักเรียน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างรวดเร็ว ต่อมากระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการจัดการศึกษาให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกัน แม้จะอยู่ส่วนใดของประเทศไทยก็ตาม อีกทั้งกรมสามัญศึกษา มีนโยบายที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาและต้องการที่จะมีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย ทำให้เกิดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.สกลนคร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ ที่ จ.นครศรีธรรมราช และมีดำริที่จะตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่ จ.พิษณุโลก

ในปี พ.ศ. 2542 ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายจุฬา ทารักษา ได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คือ นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ตอบรับเป็นเบื้องต้น โดยรับโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาเข้าเป็นเครือข่ายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยได้ดำเนินการร่วมกันผ่านกรมสามัญศึกษาเพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ แต่ได้ระงับไปช่วงหนึ่งเพราะผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เกษียณอายุราชการ ต่อมาผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายมนู วัฒนไพบูลย์ ได้รับทราบการขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และได้รับนโยบายของกรมสามัญศึกษาในการประสานงานจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา จังหวัดพิษณุโลก เพราะเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือมีสถาบันอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันราชภัฏ สถาบันราชมงคล ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ นางพรรณี เพ็งเนตร เพื่อเข้าเป็นเครือข่ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ตอบรับไม่ขัดข้องในการขอเป็นเครือข่ายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 นายปองพล อดิเรกสาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะนั้นได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ[2]

สัญลักษณ์

ตราสัญลักษณ์
พระเกี้ยว
ปรัชญา
ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม
คติพจน์
นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตญฺญู กตเวทิตา - ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี
ต้นไม้
ต้นจามจุรี

แผนการเรียน

  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (พิเศษ)
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-อังกฤษ
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-ฝรั่งเศส
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-จีน
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-ญี่ปุ่น
  • สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-เกาหลี (เปิดรับสมัคร 2560)

อาคารเรียนภายในโรงเรียน

  • อาคารอำนวยการ (อาคาร 5)

ชั้นที่ 1 ห้องประชาสัมพันธ์ ห้องประชุม 1 ห้องเกียรติยศ (ห้องประชุม 2) ห้องประชุม 200 ที่นั่ง (ห้องโสตทัศนศึกษา) ห้องพัสดุ ห้องถ่ายเอกสาร สมาคมนักเรียนเก่าโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา-เตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

ชั้นที่ 2 ห้องท่านผู้อำนวยการ (527) ห้องรองผู้อำนวยการฝ่ายจัดการศึกษาและฝ่ายจัดการศึกษา+ฝ่ายรับเข้าศึกษา (521) ห้องรองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการนักเรียนและฝ่ายกิจการนักเรียน (525) ห้องรองผู้อำนวยการฝ่ายอำนวยการและฝ่ายอำนวยการ (528) ห้องรองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไปและฝ่ายบริหารทั่วไป (526) ห้องแนะแนวการศึกษา (524) ห้องประกันคุณภาพการศึกษา (523) ห้องทะเบียน-วัดผล (522)

ชั้นที่ 3 ห้องปฏิบัติการสังคมศึกษา 1 (531) ห้องศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ (537) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 533 534 535 536 ห้องเรียนE-Classroom (532) ห้องแสดงผลงานห้องเรียนสีเขียว (538)

  • หอประชุมใหญ่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ

ชั้นที่1 ใต้ถุนโล่ง เป็นโรงอาหาร ห้องอาหารครู

ชั้นที่ 2 หอประชุม 800 ที่นั่ง

  • อาคาร 3 (อาคารม.4)

ชั้นที่ 1 เป็นห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ 2 ห้องระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียน 312 313 314 315 316

ชั้นที่ 2 เป็นห้องเรียน 321 322 323 324 325 326 327

  • อาคาร 2 (อาคารม.6)

ชั้นที่1 เป็นห้องระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 (218) ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1-2 (211,212 ตามลำดับ) ห้องเรียน 213 214 215 216 217

ชั้นที่2 เป็นห้องพักครูกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและห้องปฏิบัติการสังคมศึกษา 2 (221) ห้องเรียน 222 223 224 225 226 227 228

ใต้ถุนอาคาร เป็นห้องโภชนาการ ห้องกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ห้องคณะกรรมการสภานักเรียน ห้องอาจารย์ สหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

  • อาคาร 4 (อาคารม.5)

ชั้นที่1 เป็นห้องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (418) ห้อง To Be Number One (417) ห้องเก็บของ (416-417) ห้องระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (411) ห้องนอนเวร ห้องเรียน 412 413 414 415

ชั้นที่2 ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 1 (421) ห้องเรียน 422 423 424 425 426 ห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาคณิตศาสตร์ (427) ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ 1 (428)

ชั้นที่3 ห้องSoundLab (438) ห้องเรียนรวม (431) ห้องเรียน 432 433 434 435 436 437

  • อาคาร 1 (อาคารวิทยาศาสตร์)

ชั้นที่1 ห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (111-112) ห้องปฏิบัติการชีววิทยา1-2 (113 114 115) ห้องเก็บสารเคมี (117) ห้องปฏิบัติการเคมี1-2 (116 118) ห้องประชุม ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นที่2 ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์1-3 (128 127 122ตามลำดับ) ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์กายภาพ (121) ห้องพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (123-126)

  • อาคาร ศิลปะ เป็นอาคารกลุ่มสาระวิชาศิลปะและการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ชั้นที่ 1 ห้องวงโยธวาทิต(ห้องดนตรีสากล) ห้องพักครู

ชั้นที่ 2 ห้องนาฏศิลป์ตะวันตก ห้องนาฏศิลป์ไทย ห้องดนตรีไทย ห้องคหกรรมและงานประดิษฐ

ชั้นที่ 3 ห้องปฏิบัติการศิลปะ ห้องงานหัตถกรรม

ชั้นที่ 4 ห้องปฏิบัติการงานช่าง

เรือนพยาบาล เป็นสถานที่ให้บริการในด้านยาสามัญประจำบ้านเบื้องต้นแก่นักเรียนตั้งอยู่ใกล้ ๆ กับบริเวณสระว่ายน้ำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

  • หอสมุดมาลากุล เป็นหอสมุดปรับอากาศขนาดใหญ่และเป็นหอสมุดศูนย์รวมความรู้ของนักเรียน เป็นสถานที่สำคัญ มี คำขวัญ ที่ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ประพันธ์ไว้ว่า โรงเรียนของเรามีประวัติงดงามมานานแล้ว และ หวังว่าประวัตินี้จะตกทอดมาถึงพวกเธอ และเธอจะรับไว้มิให้เสื่อมเสีย
  • สระว่ายน้ำจามจุรี เป็นสระว่ายน้ำขนาด 50เมตร เป็นสถานที่เรียนวิชา พลศึกษา และ เป็นสถานที่ออกกำลังกายของครู ผู้ปกครอง นักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ และบุคคลทั่วไป
  • ลานจามจุรี
  • สระน้ำคูบัว เป็นสระน้ำโรงเรียน มีบัวหลายสายพันธุ์ เป็นสถานที่สำคัญของโรงเรียน
  • ลานกีฬา
  • สนามวอลเล่บอล 2สนาม
  • สนามตะกร้อ 2สนาม
  • สนามบาสเกสบอล 2สนาม
  • สนามบอลขนาดเล็ก 1สนาม
  • สนามฟุตบอลขนาดมาตรฐาน 1สนาม
  • สนามรักบี้
  • ลานมะฮอกกานี

สิ่งเคารพภายในโรงเรียน

  • พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • พระพรหม
  • พระพุทธชินราชจำลอง
  • ศาลตายาย เจ้าที่

รายนามผู้บริหาร

  • ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา
ลำดับที่ รายนาม ระยะเวลาอยู่ในตำแหน่ง
1 นายประสิทธิ์ มากลิ่น 17 พฤษภาคม 2517 - 11 กรกฎาคม 2522
2 นายวิทูร ญาณสมเด็จ 11 กรกฎาคม 2522 - 3 ธันวาคม 2522
3 นายเรือง ปาเฉย 3 ธันวาคม 2522 - 6 พฤศจิกายน 2528
4 นายจำรัส ลอยมา 6 พฤศจิกายน 2528 - 4 มกราคม 2530
5 นายฉลอง เกษน้อย 4 มกราคม 2530 - 5 ตุลาคม 2535
6 นายธงชัย จักกาบาตร์ 15 ตุลาคม 2535 - 28 มกราคม 2540
7 นายชูชาติ อุทะโก 28 มกราคม 2540 - 7 ธันวาคม 2541
8 นายจุฬา ทารักษา 17 ธันวาคม 2541 - 30 กันยายน 2543
9 นายสุพจน์ จินันทุยา 6 พฤศจิกายน 2543 - 30 เมษายน 2545
10 นายมนู วัฒนไพบูลย์ 17 เมษายน 2545 - 2 พฤษภาคม 2546
  • ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
รายนามผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
รายชื่อ ระยะเวลาอยู่ในตำแหน่ง
1. นายมนู วัฒนไพบูลย์ พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2548
2. นายสุพจน์ จินันทุยา พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549
3. นายถวิล ศรีวิชัย พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2554
4. นายชูชาติ อุทะโก พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2555
5. นางสุเนตร ทองคำพงษ์ พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2556
6. นายวิโรจน์ รอดสงฆ์ พ.ศ. 2556 - ปัจจุบัน

โรงเรียนในเครือ

อ้างอิง

  1. https://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1065360462&Area_CODE=101739 จำนวนนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ
  2. http://www.tn.ac.th/tn60/index.php/2012-11-21-12-54-27/item ประวัติโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ

http://www.tn.ac.th

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น