ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยามางาตะ อาริโตโมะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
+ 6 หมวดหมู่ด้วยฮอทแคต
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
|awards = [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ว่าวทองคำ]] <small>(ชั้น 1)</small><br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย]] <small>(สายสะพาย)</small><br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ|เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกเบญจมาศ]]
|awards = [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ว่าวทองคำ]] <small>(ชั้น 1)</small><br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย]] <small>(สายสะพาย)</small><br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ|เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกเบญจมาศ]]
}}
}}
{{สั้นมาก}}{{ชื่อญี่ปุ่น}}
{{ชื่อญี่ปุ่น}}
จอมพล '''ยะมะงะตะ อะริโตะโมะ''' ({{ญี่ปุ่น|山縣 有朋|Yamagata Aritomo}}) หรือ '''ยะมะงะตะ เคียวซุเกะ''' เป็นจอมพลแห่ง[[กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]] และ[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]]สองสมัย
จอมพล [[ดยุก|โคชะกุ]] '''ยะมะงะตะ อะริโตะโมะ''' ({{ญี่ปุ่น|山縣 有朋|Yamagata Aritomo}}) หรือ '''ยะมะงะตะ เคียวซุเกะ''' เป็นจอมพลแห่ง[[กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]] และ[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]]สองสมัย
เขาเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่วางรากฐานด้านการทหารและการเมืองในช่วงต้นของญี่ปุ่นยุคใหม่ และเขาได้รับสมญาว่า เป็นบิดาแห่งกองทัพบกญี่ปุ่น
เขาเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่วางรากฐานด้านการทหารและการเมืองในช่วงต้นของญี่ปุ่นยุคใหม่ และเขาได้รับสมญาว่า เป็นบิดาแห่งการทหารญี่ปุ่น

== ประวัติ ==
ในยุคที่[[ตระกูลโทะกุงะวะ]] ยังคงกุมอำนาจทหารส่วนใหญ่ของประเทศ ยะมะงะตะ เกิดในตระกูล[[ซะมุไร]]ระดับล่าง ในเมืองฮะงิ ซึ่งเป็นเมืองเอกของแคว้นในโชชู (ปัจจุบันคือ [[จังหวัดยะมะงุชิ]]) เขาเข้าศึกษาที่โรงเรียนเอกชน ''โชะกะซนจุกุ'' ซึ่งที่นี่ เขาเป็นแนวร่วมใต้ดินในการต่อต้านอำนาจของ[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]] เขาได้เป็นหัวหน้าของขบวนการ ''คิเฮไต'' ซึ่งเป็นกองกำลังขนาดเล็กๆ ต่อมาในช่วง[[สงครามโบะชิง]] ปี พ.ศ. 2410-2411 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[การปฏิรูปเมจิ]] เขาจึงได้รับการบรรจุเป็นทหารโดยอยู่ฝ่าย[[จักรพรรดิญี่ปุ่น|องค์จักรพรรดิ]]

หลังจากที่ฝ่ายพระจักรพรรดิสามารถโค่นล้มอำนาจของตระกูลโทะกุงะวะลงได้ ยะมะงะตะ และ [[:en:Saigō Jūdō|ไซโง สึงุมิชิ]] ได้รับเลือกเป็นตัวแทนรัฐบาลพระจักรพรรดิไปเยือนยุโรป ในปี พ.ศ. 2412 เพื่อศึกษาระบบการทหารในยุโรป เช่นเดียวกับคนญี่ปุ่นคนอื่นๆ ยะมะงะตะสนใจมีความสนใจต่อความสำเร็จของ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]] (เยอรมนี) ในการเปลี่ยนตนเองจากรัฐเกษตรกรรมเป็นรัฐอุตสาหกรรมและการทหารชั้นนำของโลกเป็นอย่างมาก ตัวเขาเองยังรับเอาแนวคิดทางการเมืองแบบปรัสเซียแบบ[[จักรวรรดินิยม]]เข้ามาด้วย เป็นแนวคิดที่ว่าประเทศควรขยายกำลังทหารไปยังต่างแดนโดยมีรัฐบาลอำนาจนิยมอยู่ที่แผ่นดินแม่ ดังนั้นแล้ว เมื่อเขากลับมายังญี่ปุ่น เขาจึงเรียกร้องให้มีการจัดตั้งระบบเหล่าทัพของญี่ปุ่นขึ้นมา ซึ่งทำให้ในปี พ.ศ. 2416 เขาได้รับแต่งตั้งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงคราม ซึ่่งเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดตั้ง [[กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]]


{{นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น}}
{{นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:50, 24 กรกฎาคม 2557

ยะมะงะตะ อะริโตะโมะ
山縣 有朋
นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
ดำรงตำแหน่ง
8 พฤศจิกายน 2451 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2453
กษัตริย์จักรพรรดิเมจิ
ก่อนหน้าโอกุมะ ชิเงะโนะบุ
ถัดไปอิโต ฮิโระบุมิ
ดำรงตำแหน่ง
24 ธันวาคม พ.ศ. 2432 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2434
กษัตริย์จักรพรรดิเมจิ
ก่อนหน้าซันโจ ซะเนะโตะมิ (รักษาการ)
ถัดไปมะสึกะตะ มะซะโยะชิ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 มิถุนายน พ.ศ. 2381
ฮะงิ, ญี่ปุ่น
เสียชีวิต1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465 (83 ปี)
โอะดะวะระ, จักรวรรดิญี่ปุ่น
รางวัลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ว่าวทองคำ (ชั้น 1)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย (สายสะพาย)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกเบญจมาศ
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ญี่ปุ่น
สังกัด กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
ประจำการ1868–1905
ยศ จอมพล
ผ่านศึกสงครามโบะชิง
กบฏซะสึมะ
สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

จอมพล โคชะกุ ยะมะงะตะ อะริโตะโมะ (ญี่ปุ่น: 山縣 有朋โรมาจิYamagata Aritomo) หรือ ยะมะงะตะ เคียวซุเกะ เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น และนายกรัฐมนตรีสองสมัย เขาเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่วางรากฐานด้านการทหารและการเมืองในช่วงต้นของญี่ปุ่นยุคใหม่ และเขาได้รับสมญาว่า เป็นบิดาแห่งการทหารญี่ปุ่น

ประวัติ

ในยุคที่ตระกูลโทะกุงะวะ ยังคงกุมอำนาจทหารส่วนใหญ่ของประเทศ ยะมะงะตะ เกิดในตระกูลซะมุไรระดับล่าง ในเมืองฮะงิ ซึ่งเป็นเมืองเอกของแคว้นในโชชู (ปัจจุบันคือ จังหวัดยะมะงุชิ) เขาเข้าศึกษาที่โรงเรียนเอกชน โชะกะซนจุกุ ซึ่งที่นี่ เขาเป็นแนวร่วมใต้ดินในการต่อต้านอำนาจของรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ เขาได้เป็นหัวหน้าของขบวนการ คิเฮไต ซึ่งเป็นกองกำลังขนาดเล็กๆ ต่อมาในช่วงสงครามโบะชิง ปี พ.ศ. 2410-2411 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปเมจิ เขาจึงได้รับการบรรจุเป็นทหารโดยอยู่ฝ่ายองค์จักรพรรดิ

หลังจากที่ฝ่ายพระจักรพรรดิสามารถโค่นล้มอำนาจของตระกูลโทะกุงะวะลงได้ ยะมะงะตะ และ ไซโง สึงุมิชิ ได้รับเลือกเป็นตัวแทนรัฐบาลพระจักรพรรดิไปเยือนยุโรป ในปี พ.ศ. 2412 เพื่อศึกษาระบบการทหารในยุโรป เช่นเดียวกับคนญี่ปุ่นคนอื่นๆ ยะมะงะตะสนใจมีความสนใจต่อความสำเร็จของปรัสเซีย (เยอรมนี) ในการเปลี่ยนตนเองจากรัฐเกษตรกรรมเป็นรัฐอุตสาหกรรมและการทหารชั้นนำของโลกเป็นอย่างมาก ตัวเขาเองยังรับเอาแนวคิดทางการเมืองแบบปรัสเซียแบบจักรวรรดินิยมเข้ามาด้วย เป็นแนวคิดที่ว่าประเทศควรขยายกำลังทหารไปยังต่างแดนโดยมีรัฐบาลอำนาจนิยมอยู่ที่แผ่นดินแม่ ดังนั้นแล้ว เมื่อเขากลับมายังญี่ปุ่น เขาจึงเรียกร้องให้มีการจัดตั้งระบบเหล่าทัพของญี่ปุ่นขึ้นมา ซึ่งทำให้ในปี พ.ศ. 2416 เขาได้รับแต่งตั้งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงคราม ซึ่่งเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดตั้ง กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น