ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาซองคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bn:জংখা ভাষা
LaaknorBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3rc2) (โรบอต เพิ่ม: da:Dzongkha
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[ca:Dzongkha]]
[[ca:Dzongkha]]
[[cs:Dzongkä]]
[[cs:Dzongkä]]
[[da:Dzongkha]]
[[de:Dzongkha]]
[[de:Dzongkha]]
[[diq:Dzongxaki]]
[[diq:Dzongxaki]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:49, 6 มีนาคม 2556

ภาษาซองคา
རྫོང་ཁ་
ภูมิภาคภูฏาน
จำนวนผู้พูด130,000 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรทิเบต
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการภูฏาน
รหัสภาษา
ISO 639-1dz
ISO 639-2dzo
ISO 639-3dzo

ภาษาซองคาเป็นภาษาประจำชาติของภูฏาน อยู่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาสิกขิมและภาษาอื่นๆของชาวภูฏาน ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ เทียบได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฏาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสนา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูฏานเมื่อราว พ.ศ. 2200 โดย ชับดรุง งาวัง นัมกเยล

ภาษาซองคาและภาษาถิ่นอื่นๆเป็นภาษาแม่ของภูฏานตะวันตก มีผู้พูดภาษานี้ในเมืองกาลิมปงของอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของภูฏาน แต่ปัจจุบันอยู่ในรัฐเบงกอลตะวันตก ภาษาซองคาเป็นภาษาที่ใช้ในโรงเรียน เป็นภาษากลางในภูฏานตอนใต้และตะวันออกที่ไม่ได้ใช้ภาษานี้เป็นภาษาแม่ เขียนด้วยอักษรทิเบต หนังสือพิมพ์ด้วยอักษรทิเบตแบบอูคันซึ่งเป็นแบบเดียวที่ใช้พิมพ์ภาษาทิเบต

อ้างอิง

  • van Driem, George L, with the collaboration of Karma Tshering of Gaselô (1998). Dzongkha. Leiden: Research School CNWS, School of Asian, African, and Amerindian Studies. ISBN 90-5789-002-X. (CNWS publications Languages of the Greater Himalayan Region, 1566-1970 ; vol. 1) - A language textbook with three audio compact disks.
  • Dzongkha Development Commission (1999). The New Dzongkha Grammar (rdzong kha'i brda gzhung gsar pa). Thimphu: Dzongkha Development Commission.
  • Dzongkha Development Commission (1990). Dzongkha Rabsel Lamzang (rdzong kha rab gsal lam bzang). Thimphu: Dzongkha Development Commission.
  • Dzongkha Development Authority (2005). English-Dzongkha Dictionary (ཨིང་ལིཤ་རྫོང་ཁ་ཤན་སྦྱར་ཚིག་མཛོད།). Thimphu: Dzongkha Development Authority, Ministry of Education. ISBN 99966335.