ข้ามไปเนื้อหา

ชิงกันเซ็ง E7 และ W7 ซีรีส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
W7 ซีรีส์
ชิงกันเซ็ง W7 ซีรีส์ หมายเลข W3 ในการวิ่งแสดงต่อสาธารณะชน, กุมภาพันธ์ 2020
ประจำการ14 มีนาคม 2015
ผู้ผลิตฮิตาชิ
คาวาซากิ เฮวี่ อินดรัสทรีส์
คินกิ ชะเรียว
สายการผลิต2014-2015
อยู่ระหว่างผลิต12 ตู้ (1 ขบวน)
จำนวนที่ผลิต120 ตู้ (10 ขบวน)
จำนวนในประจำการ120 ตู้ (10 ขบวน)
รูปแบบการจัดขบวน12 ตู้ต่อขบวน
หมายเลขตัวรถW1-W10
ความจุผู้โดยสาร934
ผู้ให้บริการJR ตะวันตก
โรงซ่อมบำรุงฮะกุซัง
สายที่ให้บริการโฮกูริกุชิงกันเซ็ง
คุณลักษณะ
วัสดุตัวถังอะลูมิเนียม อัลลอยด์
ความยาว26 เมตร (ตู้ปลาย)
25 เมตร (ตู้กลาง)
ความกว้าง3,380 มม.
จำนวนประตู2 บานต่อข้าง
ความเร็วสูงสุดออกแบบ: 275 km/h (171 mph)
ให้บริการ: 260 km/h (160 mph)
น้ำหนักประมาณ 540 ตัน/ขบวน
กำลังขับเคลื่อน12 MW
ความเร่ง1.6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง/วินาที
ระบบจ่ายไฟฟ้า25 kV AC, 50/60 Hz
ตัวรับกระแสไฟจ่ายไฟเหนือหัว
ระบบความปลอดภัยDS-ATC, RS-ATC
มาตรฐานทางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)

W7 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) วิ่งในสายโฮกูริกุชิงกันเซ็ง ตั้งแต่มีการขยายเส้นทางจากนาโงยะ จนถึง คานาซาวะ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558[1] รถไฟชิงกันเซ็งรุ่นนี้มีการพัฒนาควบคู่ไปกับชิงกันเซ็ง E7 ซีรีส์ รถไฟรุ่นนี้สามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 275 กิโลเมตร/ชั่วโมง แต่จำกัดความเร็วที่ให้บริการไว้ที่ 260 กิโลเมตร/ชั่วโมง[2]

การจัดขบวน

[แก้]
เลขตู้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
รหัสผัง Tc M2 M1 M2 M1 M2 M1 M2 M1 M2 M1s Tsc
หมายเลข W723-100 W726-100 W725-100 W726-200 W725-200 W726-300 W725-300 W726-400 W725-400 W726-500 W715-500 W714-500
น้ำหนัก
(ตัน)
41.3 44.7 46.1 45.2 46.4 45.2 46.5 45.2 46.4 45.0 45.6 44.5
ความจุ 50 100 85 100 85 90 58 100 85 100 63 18
สิ่งอำนวยความสะดวก สุขา   สุขา, โทรศัพท์   สุขา พื้นที่วีลแชร์, สุขาใหญ่, โทรศัพท์   สุขา   พื้นที่วีลแชร์, สุขาใหญ่ สุขา

ภายใน

[แก้]

รถไฟรุ่นนี้แบ่งที่นั่งออกเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ: กรังซ์กรีน, กรีน และ ชั้นธรรมดา มีที่นั่งทั้งหมด 934 ตัว[1] ที่นั่งชั้นกรังซ์กรีนเป็นที่นั่งชั้นหนึ่ง จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 2+1 ตัว มีความกว้างเบาะ 130 เซนติเมตร (51 นิ้ว), ที่นั่งชั้นกรีน จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 2+2 ตัว มีความกว้างเบาะ 116 เซนติเมตร (46 นิ้ว) และ ที่นั่งชั้นธรรมดา จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 3+2 ตัว มีความกว้างเบาะ 104 เซนติเมตร (41 นิ้ว)[2] ที่นั่งทุกตัวมีที่จ่ายไฟกระแสสลับ (AC)

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "E7系・W7系新幹線電車" [E7/W7 series shinkansen EMU]. Japan Railfan Magazine. Japan: Koyusha Co., Ltd. 52 (619): 48–49. November 2012.
  2. 2.0 2.1 "E7系新幹線電車" [E7 series shinkansen EMU]. Japan Railfan Magazine (ภาษาญี่ปุ่น). Japan: Koyusha Co., Ltd. 54 (634): 9–13. February 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]