กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียกลาง–ตะวันออก
หน้าตา
กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียกลาง–ตะวันออก | |
---|---|
(ยกเลิก) | |
ภูมิภาค: | อินโดนีเซียตะวันออกและหมู่เกาะแปซิฟิก |
การจําแนก ทางภาษาศาสตร์: | ออสโตรนีเซียน
|
กลุ่มย่อย: |
|
กลอตโตลอก: | cent2237[1] |
กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียกลาง–ตะวันออก (Central–Eastern Malayo-Polynesian; CEMP) เป็นสาขาของกลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่มมากกว่า 700 ภาษา (Blust 1993)[2]
องค์ประกอบ
[แก้]- กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียกลาง
- กลุ่มภาษาบีมา-ซุมบา
- กลุ่มภาษาติมอร์-โฟลเร็ซ
- กลุ่มภาษาดามัรตะวันตก
- ภาษาบาบัร
- กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกเฉียงใต้
- ภาษาเตอร์-กูร์
- ภาษาอารู
- ภาษาเคโกวีโอ
- กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ
- กลุ่มภาษามาลูกูกลาง
- กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียตะวันออก
- กลุ่มภาษาฮัลมาเฮอราใต้-นิวกินีตะวันตก
- กลุ่มภาษามหาสมุทร
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Central–Eastern Malayo-Polynesian". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
- ↑ Blust, Robert (1993). "Central and Central-Eastern Malayo-Polynesian". Oceanic Linguistics. 32 (2): 241–293. doi:10.2307/3623195. JSTOR 3623195.
บรรณานุกรม
[แก้]- Fay Wouk and Malcolm Ross (ed.), The history and typology of western Austronesian voice systems. Australian National University, 2002. hdl:1885/146136 doi:10.15144/PL-518
- K. Alexander Adelaar and Nikolaus Himmelmann, The Austronesian languages of Asia and Madagascar. Routledge, 2005.