กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียศูนย์กลาง
หน้าตา
มลายู-พอลินีเชียศูนย์กลาง | |
---|---|
ภูมิภาค: | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียตะวันออก, มหาสมุทรแปซิฟิก, มาดากัสการ์ |
การจําแนก ทางภาษาศาสตร์: | ออสโตรนีเซียน
|
ภาษาดั้งเดิม: | มลายู-พอลินีเชียดั้งเดิม |
กลุ่มย่อย: |
|
ISO 639-5: | poz |
กลอตโตลอก: | mala1545[1] |
กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียตะวันตกอื่น (ภูมิศาสตร์)
กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียกลาง (ภูมิศาสตร์)
กลุ่มภาษาโอชีแอนิกตะวันตกสุด | |
กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียศูนย์กลาง หรือ กลุ่มภาษานิวเคลียร์มลายู-พอลินีเชีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เกาะซูลาเวซี แยกเป็น 2 สาขาคือ
- กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี หรือกลุ่มมลายู-พอลินีเชียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซูลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โรและภาษาปาเลา
- กลุ่มภาษามลายู-พอลินีเชียตะวันออกตอนกลาง เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกินีและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Malayo-Polynesian". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
- Fay Wouk and Malcolm Ross (ed.), The history and typology of western Austronesian voice systems. Australian National University, 2002