ภาษาอตายัล
หน้าตา
ภาษาอตายัล | |
---|---|
Tayal | |
ภูมิภาค | ไต้หวันเหนือ |
ชาติพันธุ์ | ชาวอตายัล |
จำนวนผู้พูด | 86,000[1] (2008)[2] |
ตระกูลภาษา | ออสโตรนีเซียน
|
ระบบการเขียน | ละติน |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | tay |
Linguasphere | 30-AAA |
แผนที่แสดงที่ตั้งของกลุ่มภาษาย่อยหลักสองกลุ่มในภาษาอตายัล ชาวอตายัลอาศัยอยู่ในไต้หวันตอนกลางและตอนเหนือริมเทือกเขา Hsuehshan | |
ภาษาอตายัล เป็นภาษาของชาวอตายัลในไต้หวัน มีสำเนียงย่อย 32 สำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากคือ ซโควเลก ตโซเล และ มายรีนัก อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน สาขากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ใช้พูดทางภาคเหนือ มีการเขียนด้วยอักษรละตินและจัดพิมพ์พจนานุกรมและไวยากรณ์ภาษาอตายัลเมื่อ พ.ศ. 2545
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Amis Remains Taiwan's Biggest Aboriginal Tribe at 37.1% of Total". Focus Taiwan (ภาษาอังกฤษ). CNA. February 15, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-16. สืบค้นเมื่อ 2020-06-04.
- ↑ ภาษาอตายัล ที่ Ethnologue (25th ed., 2022)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาTayal
- Rosetta Project: Atayal Swadesh list
- Ci'uli Atayal Wordlist at the Austronesian Basic Vocabulary Database
- Yuánzhùmínzú yǔyán xiànshàng cídiǎn 原住民族語言線上詞典 เก็บถาวร 2021-06-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาจีน) – Atayal search page at the "Aboriginal language online dictionary" website of the Council of Indigenous Peoples of Taiwan