ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซีเยอรมนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:1933-may-10-berlin-book-burning.JPG|right|230px|thumb|[[การเผาหนังสือโดยนาซี]]ในปี 1933 นาซีเผาผลงานที่ถูกมองว่า "ไม่เป็นเยอรมัน" ในกรุงเบอร์ลิน ได้แก่ หนังสือโดยผู้ประพันธ์ยิว คู่แข่งการเมือง และผลงานอื่นที่ไม่เป็นไปตามแนวอุดมการณ์นาซี]]
[[ไฟล์:Berlin36-2.jpg|thumb|right|230px|[[โอลิมเปียชตาดิโยน เบอร์ลิน|สนามกีฬาโอลิมปิก]]ในกรุงเบอร์ลิน]]

=== ศิลปะ ===
ระบอบนาซีมุ่งฟื้นฟูค่านิยมดั้งเดิมในวัฒนธรรมเยอรมัน ศิลปวัฒนธรรมที่นิยามสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ถูกปราบปราม ทัศนศิลป์ถูกเฝ้าสังเกตอย่างเข้มงวดและเป็นแบบประเพณี เน้นยกตัวอย่างแก่นเยอรมัน ความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติ แสนยนิยม คตินิยมวีรบุรุษ อำนาจ ความเข้มแข็งและความเชื่อฟัง ศิลปะนามธรรมสมัยใหม่และ[[อาวองการ์ด|ศิลปะอาวองการ์ด]]ถูกนำออกจากพิพิธภัณฑ์ และถูกจัดแสดงเป็นพิเศษว่าเป็น "ศิลปะเสื่อม" ที่ซึ่งผลงานเหล่านี้จะถูกเยาะหยัน ในตัวอย่างที่โดดเด่นครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1937 ฝูงชนขนาดใหญ่ยืนเข้าแถวเพื่อชมการจัดแสดงพิเศษ "ศิลปะเสื่อม" ในมิวนิก รูปแบบศิลปะที่ถูกมองว่าเสื่อม มี[[คติดาด]] [[บาศกนิยม]] [[ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์]] [[คติโฟวิสต์]] [[ลัทธิประทับใจ]] [[ปรวิสัยใหม่]] และ[[ลัทธิเหนือจริง]] วรรณกรรมที่เขียนโดยชาวยิว ชนที่มิใช่อารยันอื่น พวกรักร่วมเพศหรือผู้ประพันธ์ที่คัดค้านนาซีจะถูกรัฐบาลทำลาย การทำลายวรรณกรรมที่ฉาวโฉ่ที่สุด คือ การเผาหนังสือโดยนักเรียนเยอรมันในปี 1933

แม้ความพยายามอย่างเป็นทางการในการสร้างวัฒนธรรมเยอรมันบริสุทธิ์ พื้นที่หลักหนึ่งของศิลปะและสถาปัตยกรรมภายใต้การชี้นำส่วนตัวของฮิตเลอร์เป็น[[ลัทธิคลาสสิกใหม่]] ซึ่งเป็นรูปแบที่อิงสถาปัตยกรรมโรมโบราณ รูปแบบนี้ขัดและค้านรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ใหม่กว่า เป็นเสรีนิยมกว่า และได้รับความนิยมกว่าในสมัยนั้นอย่าง[[อลังการศิลป์]] อาคารโรมันจำนวนมากได้รับการพิจารณาโดยสถาปนิกของรัฐ อัลแบร์ท ชเปียร์ สำหรับแบบสถาปัตยกรรมของอาคารรัฐ ชเปียร์ก่อสร้างอาคารขนาดมหึมาและโอ่อ่า เช่น ในลานชุมนุมพรรคนาซีในเนือร์นแบร์กและอาคาร[[ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์]]หลังใหม่ในกรุงเบอร์ลิน แบบหนึ่งที่ไม่ได้สร้างจริงเป็น[[พาร์เธนอน]]ในกรุงโรม เรียกว่า "โฟล์คชัลเลอ" เป็นศูนย์กลางกึ่งศาสนาของระบอบนาซีในกรุงเบอร์ลินที่เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "เยอรมาเนีย" ซึ่งจะเป็น "เมืองหลวงของโลก" (เวลเทาพท์สทัดท์) นอกจากนี้ ที่จะก่อสร้าง คือ ประตูชัยที่ใหญ่กว่าในกรุงปารีสหลายเท่า ซึ่งอาศัยแบบคลาสสิกเช่นกัน การออกแบบจำนวนมากสำหรับเยอรมาเนียไม่สามารถก่อสร้างได้จริง เพราะขนาดและดินเลนใต้กรุงเบอร์ลิน ภายหลัง วัสดุที่จะใช้ก่อสร้างถูกเปลี่ยนไปใช้ในความพยายามของสงครามแทน

=== ภาพยนตร์และสื่อ ===
ภาพยนตร์เยอรมันแห่งยุคส่วนมากตั้งใจให้เป็นผลงานการบันเทิงเป็นหลัก การนำเข้าภาพยนตร์ถูกกฎหมายห้ามหลังปี 1936 และอุตสาหกรรมเยอรมัน ซึ่งถูกโอนเป็นของรัฐในปี 1937 จำต้องชดเชยสำหรับภาพยนตร์ต่างประเทศที่ขาดไป การบันเทิงยิ่งทวีความสำคัญยิ่งขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อโรงภาพยนตร์เป็นสิ่งหย่อนใจจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตรและความพ่ายแพ้ติด ๆ กันของเยอรมนี ในปี 1943 และ 1944 การยอมรับโรงภาพยนตร์ในเยอรมนีเกินหนึ่งพันล้าน<ref name="spio"/> และภาพยนตร์ที่ทำรายได้สูงสุดยามสงคราม คือ ''ดีกรอเซอลีเบอ'' (1942) และ''วุนชคอนแซร์ท'' (1941) ซึ่งทั้งสองเรื่องประกอบด้วยส่วนที่เป็นดนตรี นิยายวีรคติยามสงครามและโฆษณาชวนเชื่อรักชาติ ''เฟราเอนซินด์ดอคเบสเซเรอดีโพลมาเทน'' (1941) ดนตรีตลกซึ่งเป็นหนึ่งในภาพยนตร์สีเรื่องแรก ๆ ของเยอรมนี และวีนแนร์บลุท (1942) การดัดแปลง[[จุลอุปรากร]]ตลกของโยฮันน์ สเทราสส์ ความสำคัญของโรงภาพยนตร์ในฐานะเครื่องมือของรัฐ ทั้งคุณค่าการโฆษณาชวนเชื่อ และความสามารถในการทำให้ประชาชนได้รับความบันเทิงอย่างต่อเนื่อง พบเห็นได้ในประวัติการถ่ายทำภาพยนตร์ ''[[โคลแบร์ก (ภาพยนตร์)|โคลแบร์ก]]'' (1945) ของไฟท์ ฮาร์ลัน ภาพยนตร์ที่แพงที่สุดแห่งยุค สำหรับการถ่ายทำ ซึ่งทหารหลายหมื่นนายถูกเปลี่ยนจากตำแหน่งทางทหารมาแสดงเป็นตัวประกอบ<ref name="industry1"/>

แม้การอพยพออกนอกประเทศของผู้ผลิตภาพยนตร์จำนวนมากและการจำกัดทางการเมือง แต่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเยอรมนีก็มิได้ขาดนวัตกรรมทางเทคนิคและสุนทรีย์ การริเริ่มการผลิตภาพยนตร์อักฟาโคลอร์เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นอันหนึ่ง ความสำเร็จทางเทคนิคและสุนทรีย์ยังอาจมาถึงคราวสิ้นสุดในไรช์ที่สามได้เหมือนกัน ที่เห็นได้ชัดในผลางานของเลนี รีเฟนสทาล ''ไทรอัมฟ์ออฟเดอะวิล'' (1935) ของรีเฟนสทาล ซึ่งบันทึกเหตุการณ์[[การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ก]] (1934) และ''โอลิมเปีย'' (1938) ที่บันทึกเหตุการณ์[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1936]] บุกเบิกเทคนิคการเคลื่อนไหวกล้องและการตัดต่อที่มีอิทธิพลต่อภาพยนตร์สมัยหลังจำนวนมาก ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไททรอัมฟ์ออฟเดอะวิล ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างสูง เพราะคุณค่าสุนทรีย์นั้นแยกขาดจากการโฆษณาชวนเชื่ออุดมคติชาติสังคมนิยมไม่ได้ ศิลปินที่ไม่สามารถแทนกันได้ที่ดูเหมาะกับอุดมคติชาติสังคมนิยม เช่น มารีคา รอคค์ และโยฮันเนส เฮสแทร์ส ถูกนำขึ้นรายการกอทท์เบกนาเดเทน ("ผู้มีพรสวรรค์จากพระเจ้า") โดยเกิบเบิลส์ระหว่างสงคราม<ref name="Movienews"/>

=== ศาสนา ===
สำมะโนประชากรเยอรมนี เดือนพฤษภาคม 1939 บ่งชี้ว่า ชาวเยอรมัน 54% มองว่าตนเองนับถือนิกายโปรแตสแตนต์ และ 40% มองว่าตนนับถือคาทอลิก โดยมีเพียง 3.5% เท่านั้นที่อ้างว่าเป็น "ผู้เชื่อในพระเจ้า" เพเกินใหม่ และ 1.5% ไม่เชื่อในพระเจ้า สำมะโนนี้ออกมาหลังเข้าสู่ยุคนาซีมาแล้วหกปี<ref name="google3"/>

=== การกีฬา ===
กีฬามีบทบาทศูนย์กลางในเป้าหมายการสร้างนักกีฬาหนุ่มสาวที่เข้มแข็งของนาซี เพื่อสร้างเชื้อชาติที่ "ดีเลิศ" และช่วยสร้างเยอรมนีเป็นมหาอำนาจทางกีฬา สัญนิยมทางการเมืองมวลชนที่มีร่างกายเกือบเปลือยบุรุษเพศครอบครองพื้นที่สาธารณะเข้ากับระบบการโฆษณาชวนเชื่ออย่างง่ายดาย โดยมีตัวอย่างคือ ภาพยนตร์ "โอลิมเปีย" ในปี 1938 ซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึง[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1936|โอลิมปิกฤดูร้อนกรุงเบอร์ลิน 1936]]<ref name="performing"/>

"[[สันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหาร]]" (NSRBL) เป็นองค์การดูแลกีฬาระหว่างไรช์ที่สาม มีการจัดแสดงศิลปะและวัฒนธรรมเยอรมันสองครั้งหลักที่มหกรรมโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และที่ศาลาเยอรมันที่นิทรรศการระหว่างประเทศในปี 1937 โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 ตั้งใจให้แสดงให้โลกเห็นความเหนือกว่าชาติอื่นของเยอรมนี นักกีฬาเยอรมันได้ถูกคัดสรรอย่างมาอย่างดีไม่เพียงแต่พละกำลังเท่านั้น แต่ยังรวมถึงลักษณะภายนอกที่เป็นอารยันด้วย<ref name="olympics"/>

== เชิงอรรถ ==
== เชิงอรรถ ==
{{notes
{{notes

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:20, 24 มีนาคม 2562

เชิงอรรถ

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "annexed" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "statistics" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิง

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Abortion" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "anthropology" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "BHTFSN153" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Biddiscombe2001" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "bmj" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Bowen 1981" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "conscience" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "continuum" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Cuomo 1995" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "democracy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "destruction" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "dictators28" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "disciples" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "entertainment" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Evans2008" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Forced Labour under Third Reich - Part 1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Germans and Poles 1871–1945" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "German Psychological Warfare" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ghi-dc" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "goddesses" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google3" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google19" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google21" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google22" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "hanover" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "historiography" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "History of Contraception" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "h-net" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "HWJ79" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Inside the Third Reich: Memoirs" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "intellectual" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jhu" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "JPop186" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jstor" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jstor2" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Kershaw2000" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Landdienst" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "madajczyk" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "material" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Mierzejewski1988" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Movienews" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "neu" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "NWC5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "olympics" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "performing" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "philosophy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "production" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "RA132" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "richard" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "RRNM92" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SCGG90" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "spio" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "stewart" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Temin 1991" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "The Role of Private Property in the Nazi Economy: The Case of Industry" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "totalitarianism" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "uni-heidelberg" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "university" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "wehrmacht" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Why the Allies Won" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "www_kaltio_fi5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "www_spartacus_schoolnet_co_uk" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

บรรณานุกรม

ดูเพิ่ม

ประวัติศาสตร์

การเมือง

สังคม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • "Introduction to the Holocaust". United States Holocaust Memorial Museum. สืบค้นเมื่อ 12 May 2013.
  • Price, Alfred (2003). Targeting the Reich: Allied Photographic Reconnaissance over Europe, 1939–1945. London: Military Book Club. ISBN 0-7394-3496-9.
  • Tooze, Adam (2006). The Wages of Destruction: The Making and Breaking of the Nazi Economy. London; New York: Allen Lane. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Uekötter, Frank (2006). The Green and the Brown: A History of Conservation in Nazi Germany. Cambridge; New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-84819-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Uekötter, Frank (2005). "Polycentrism in Full Swing: Air Pollution Control in Nazi Germany". ใน Brüggemeier, Franz-Josef; Cioc, Mark; Zeller, Thomas (บ.ก.). How Green Were the Nazis?: Nature, Environment, and Nation in the Third Reich. Athens: Ohio University Press. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Umbreit, Hans (2003). "Hitler's Europe: The German Sphere of Power". ใน Kroener, Bernhard; Müller, Rolf-Dieter; Umbreit, Hans (บ.ก.). Germany and the Second World War, Vol. 5. Organization and Mobilization in the German Sphere of Power. Part 2: Wartime Administration, Economy, and Manpower Resources, 1942–1944/5. Oxford; New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-820873-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • van Wie, Paul D. (1999). Image, History and Politics: The Coinage of Modern Europe. Lanham, Md: University Press of America. ISBN 978-0-7618-1221-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Weale, Adrian (2010). Army of Evil: A History of the SS. New York; Toronto: Penguin Group. ISBN 978-0-451-23791-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Wedekind, Michael (2005). "The Sword of Science: German Scholars and National Socialist Annexation Policies in Slovenia and Northern Italy". ใน Haar, Ingo; Fahlbusch, Michael (บ.ก.). German Scholars and Ethnic Cleansing (1920–1945). New York: Berghahn. ISBN 978-1-57181-435-7. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Wirtschaft und Statistik (ภาษาGerman). Wiesbaden: Statistisches Bundesamt Deutschland. October 1956. {{cite journal}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Zeitlin, Jonathan (1955). "Flexibility and Mass Production at War: Aircraft Manufacture in Britain, the United States, and Germany, 1939–1945". Technology and Culture. 36 (1): 46–79. doi:10.2307/3106341. JSTOR 3106341. {{cite journal}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)