ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรถไฟแห่งประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
31 กิโลเมตร และเป็นทางสามช่วง{{สรฟ|รังสิต}} - {{สรฟ|ชุมทางบ้านภาชี}} ระยะทาง 59 กิโลเมตร โดยมีเส้นทาง ดังนี้
31 กิโลเมตร และเป็นทางสามช่วง{{สรฟ|รังสิต}} - {{สรฟ|ชุมทางบ้านภาชี}} ระยะทาง 59 กิโลเมตร โดยมีเส้นทาง ดังนี้
*ทางสายเหนือ ถึง {{สรฟ|เชียงใหม่}} [[จังหวัดเชียงใหม่]] ระยะทาง 751 กิโลเมตร
*ทางสายเหนือ ถึง {{สรฟ|เชียงใหม่}} [[จังหวัดเชียงใหม่]] ระยะทาง 751 กิโลเมตร
*ทางสายใต้ ถึง [[จังหวัดนราธิวาส]]([[อำเภอสุไหงโก-ลก|สรฟ|สุไหงโก-ลก]]) ระยะทาง 1,143 กิโลเมตร และ{{สรฟ|ปาดังเบซาร์}} ระยะทาง 974 กิโลเมตร
*ทางสายใต้ ถึง [[จังหวัดนราธิวาส]] ( [[อำเภอสุไหงโก-ลก]] [[สรฟ|สุไหงโก-ลก]] ) ระยะทาง 1,143 กิโลเมตร และ {{สรฟ|ปาดังเบซาร์}} ระยะทาง 974 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันออก ถึง [[จังหวัดสระแก้ว]]([[อำเภออรัญประเทศ]] [[สรฟ|อรัญประเทศ]]) ระยะทาง 255 กิโลเมตร และ [[จังหวัดระยอง]]ที่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุต [[สรฟ|มาบตาพุด]] ระยะทาง 200 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันออก ถึง [[จังหวัดสระแก้ว]] ( [[อำเภออรัญประเทศ]] [[สรฟ|อรัญประเทศ]] ) ระยะทาง 255 กิโลเมตร และ [[จังหวัดระยอง]] ที่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุต [[สรฟ|มาบตาพุด]] ระยะทาง 200 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถึง [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ระยะทาง 575 กิโลเมตร และ [[จังหวัดหนองคาย]] ระยะทาง 624 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถึง [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ระยะทาง 575 กิโลเมตร และ [[จังหวัดหนองคาย]] ระยะทาง 624 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันตก จาก {{สรฟ|ธนบุรี}}ถึง {{สรฟ|น้ำตก}}[[จังหวัดกาญจนบุรี]] ระยะทาง 194 กิโลเมตร และถึง [[สรฟ|สุพรรณบุรี]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ระยะทาง 157 กิโลเมตร
*ทางสายตะวันตก จาก {{สรฟ|ธนบุรี}} ถึง ( [[อำเภอไทรโยค]] [[สรฟ|น้ำตก]] ) [[จังหวัดกาญจนบุรี]] ระยะทาง 194 กิโลเมตร และถึง [[สรฟ|สุพรรณบุรี]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ระยะทาง 157 กิโลเมตร
*ทางสายแม่กลอง ช่วง{{สรฟ|วงเวียนใหญ่}} - {{สรฟ|มหาชัย}} ระยะทาง 31 กิโลเมตร และช่วง{{สรฟ|บ้านแหลม}} - {{สรฟ|แม่กลอง}} ระยะทาง 34 กิโลเมตร
*ทางสายแม่กลอง ช่วง {{สรฟ|วงเวียนใหญ่}} - {{สรฟ|มหาชัย}} ระยะทาง 31 กิโลเมตร และช่วง {{สรฟ|บ้านแหลม}} - {{สรฟ|แม่กลอง}} ระยะทาง 34 กิโลเมตร


นอกจากนั้นยังมีการสร้างทางอีกหลายเส้นทาง อาทิ {{สรฟ|ชุมทางคลองสิบเก้า}} - {{สรฟ|ชุมทางบ้านภาชี}} - {{สรฟ|ชุมทางแก่งคอย}} - [[ศรีราชา]] - [[แหลมฉบัง]] - {{สรฟ|ชุมทางเขาชีจรรย์}} - [[มาบตาพุด]] เพื่อให้รับโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกอีกด้วย
นอกจากนั้นยังมีการสร้างทางอีกหลายเส้นทาง อาทิ {{สรฟ|ชุมทางคลองสิบเก้า}} - {{สรฟ|ชุมทางบ้านภาชี}} - {{สรฟ|ชุมทางแก่งคอย}} - [[ศรีราชา]] - [[แหลมฉบัง]] - {{สรฟ|ชุมทางเขาชีจรรย์}} - [[มาบตาพุด]] เพื่อให้รับโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกอีกด้วย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:38, 3 พฤศจิกายน 2550

การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) (State Railway of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดูแลกิจการด้านรถไฟของประเทศ

ประวัติ

วันที่ 26 มีนาคม เป็น วันสถาปนากิจการรถไฟ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวงพระองค์แรก

เนื่องมาจากนโยบายขยายอาณานิคมของอังกฤษและฝรั่งเศส แผ่มาครอบคลุมบริเวณเหลมอินโดจีน พระองค์ท่านทรงตระหนักถึงความสำคัญของการคมนาคม โดยเส้นทางรถไฟ เพราะการใช้แต่ทางเกวียนและแม่น้ำลำคลองเป็นพื้นนั้น ไม่เพียงพอแก่การบำรุงรักษาพระราชอาณาเขต ราษฎรที่อยู่ห่างไกลจากเมืองหลวงมีจิตใจโน้มเอียงไปทางประเทศใกล้เคียง สมควรที่จะสร้างทางรถไฟขึ้นในประเทศเพื่อติดต่อกับมณฑลชายแดนก่อนอื่น ทั้งนี้เพื่อสะดวกแก่การปกครอง ตรวจตราป้องกันการรุกรานเป็นการเปิดภูมิประเทศให้ประชาชนพลเมืองเข้าบุกเบิกพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ให้เป็นประโยชน์ทางเศรษกิจของประเทศ และจะเป็นเส้นทางขนส่งผู้โดยสารและสินค้าไปมาถึงกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2430 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เซอร์แอนดรู คลาก และบริษัทปันชาร์ด แมกทักการ์ด โลเธอร์ ดำเนินการสำรวจเพื่อ สร้างทางรถไฟจาก กรุงเทพฯ - เชียงใหม่ และมีทางแยกตั้งแต่เมืองสระบุรี - เมืองนครราชสีมาสายหนึ่ง จากเมืองอุตรดิตถ์ - ตำบลท่าเดื่อริมฝั่งแม่น้ำโขงสายหนึ่ง และจากเมืองเชียงใหม่ไปยังเชียงราย เชียงแสนหลวงอีกสายหนึ่ง โดยทำการสำรวจให้แล้วเสร็จเป็นตอน ๆ รวม 8 ตอน ในราคาค่าจ้างโดยเฉลี่ยไม่เกินไมล์ละ 100 ปอนด์ ทั้งสองฝ่ายลงนามในสัญญา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2430

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติให้กระทรวงโยธาธิการว่าจ้าง มิสเตอร์ จี. มูเร แคมป์เบลล์ สร้างทางรถไฟหลวงจากกรุงเทพ (หัวลําโพง) ถึงนครราชสีมา เป็นสายแรก เป็นทางขนาดกว้าง 1.435 เมตร และได้เสด็จพระราชดำเนินประกอบพระราชพิธีกระทำพระฤกษ์ เริ่มการ สร้างทางรถไฟ ณ บริเวณย่านสถานีกรุงเทพ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งปัจจุบัน การรถไฟฯ ได้สร้างอนุสรณ์ปฐมฤกษ์รถไฟหลวงเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานรำลึกเหตุการณ์สำคัญในอดีต และเพื่อน้อมรำลึกถึงพระกรุณาธิคุณ

เส้นทางเดินรถ

ปัจจุบันการรถไฟฯ มีระยะทางที่เปิดการเดินรถแล้ว รวมทั้งสิ้น 4,346 กิโลเมตร โดยเป็นทางคู่ช่วง กรุงเทพ (หัวลําโพง) - รังสิต ระยะทาง 31 กิโลเมตร และเป็นทางสามช่วงรังสิต - ชุมทางบ้านภาชี ระยะทาง 59 กิโลเมตร โดยมีเส้นทาง ดังนี้

นอกจากนั้นยังมีการสร้างทางอีกหลายเส้นทาง อาทิ ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางบ้านภาชี - ชุมทางแก่งคอย - ศรีราชา - แหลมฉบัง - ชุมทางเขาชีจรรย์ - มาบตาพุด เพื่อให้รับโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกอีกด้วย

แหล่งข้อมูลอื่น