ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานแผ่นดิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Land bridge|สะพานแผ่นดิน}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Land bridge|สะพานแผ่นดิน}}


{{สมุทรศาสตร์กายภาพ}}
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานชายฝั่งและมหาสมุทร]]
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานชายฝั่งและมหาสมุทร]]
[[หมวดหมู่:คอคอด]]
[[หมวดหมู่:คอคอด]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:53, 14 กันยายน 2559

คอคอดปานามาเป็น “สะพานแผ่นดิน” ที่เกิดขึ้นเมื่อสามล้านปีที่แล้วที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางภูมิสัตวภาพระหว่างทวีปอเมริกา

สะพานแผ่นดิน (อังกฤษ: land bridge) ทางชีวภูมิศาสตร์[1] หมายถึงคอคอดหรือแผ่นดินที่กว้างกว่านั้น ที่เชื่อมระหว่างแผ่นดินสองแผ่นดินที่ตามปกติแล้วแยกจากกัน การเชื่อมทำให้เกิดภาวะที่ทำให้สัตว์บกและพืชสามารถเดินทางข้ามแลกเปลี่ยนไปตั้งถิ่นฐานในดินแดนใหม่ได้ สะพานแผ่นดินอาจจะเกิดได้จากการการร่นถอยของทะเลเมื่อระดับน้ำทะเลแห้งเหือดลง ที่ทำให้บริเวณไหล่ทวีปที่เคยอยู่ใต้น้ำตื้นเขินขึ้น หรือเมื่อแผ่นเปลือกโลกเลื่อนตัวจนทำให้เกิดแผ่นดินใหม่ขึ้น หรือเมื่อท้องทะเลสูงตัวขึ้นในกรณีแผ่นดินสูงคืนตัวหลังการละลายของธารน้ำแข็ง (Post-glacial rebound) หลังจากยุคน้ำแข็งสิ้นสุดลง

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สะพานแผ่นดิน