ที่ราบก้นสมุทร

แผนภาพตัดตามขวางของแอ่งมหาสมุทร แสดงความสัมพันธ์ระหว่างที่ราบก้นสมุทรกับลาดตีนทวีปและร่องลึกก้นสมุทร
ที่ราบก้นสมุทร (อังกฤษ: Abyssal plain) เป็นที่ราบใต้น้ำตรงบริเวณก้นสมุทร โดยทั่วไปจะพบที่ความลึกระหว่าง 3,000 ถึง 6,000 เมตร และอยู่ระหว่างลาดตีนทวีปกับเทือกเขากลางสมุทร มีพื้นที่มากกว่าร้อยละ 50 ของพื้นผิวโลก[1][2] มันเป็นพื้นที่ ๆ แบนและราบเรียบที่สุดแต่ได้รับการศึกษาน้อยมาก[3] ที่ราบเหล่านี้เป็นองค์ประกอบทางธรณีวิทยาที่สำคัญของแอ่งมหาสมุทร (องค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ เทือกเขากลางสมุทรที่ยกตัวขึ้น และเขาก้นสมุทรที่ขนาบข้าง) นอกจากองค์ประกอบเหล่านี้แล้ว โดยปกติแอ่งมหาสมุทรมีพลัง (เชื่อมโยงกับรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกที่เคลื่อนไหวอยู่) จะมีร่องลึกก้นสมุทรและเขตมุดตัวของเปลือกโลกรวมอยู่ด้วย
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Craig R. Smith; Fabio C. De Leo; Angelo F. Bernardino; Andrew K. Sweetman; Pedro Martinez Arbizu (2008). "Abyssal food limitation, ecosystem structure and climate change" (PDF). Trends in Ecology and Evolution. 23 (9): 518–528. doi:10.1016/j.tree.2008.05.002. PMID 18584909. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 18 June 2010.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - ↑ N.G. Vinogradova (1997). "Zoogeography of the Abyssal and Hadal Zones". Advances in Marine Biology. Advances in Marine Biology. 32: 325–387. doi:10.1016/S0065-2881(08)60019-X. ISBN 9780120261321.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - ↑ P.P.E. Weaver; J. Thomson; P. M. Hunter (1987). Geology and Geochemistry of Abyssal Plains (PDF). Oxford: Blackwell Scientific Publications. p. x. ISBN 0-632-01744-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 ธันวาคม 2010. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2010.
{{cite book}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help)