ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพื่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
Useless and hard
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |เปลี่ยนทาง=ภาษาจีน |สำหรับ=ภาษาราชการของประเทศจีน |ดูที่=ภาษาจีนมาตรฐาน |และดูที่=ภาษาจีนกลาง }}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |เปลี่ยนทาง=ภาษาฮั่น |สำหรับ=ภาษาในอดีตของ[[ชาวฮัน]]ในเอเชียกลางและยุโรป |ดูที่=ภาษาฮัน}}

{{มีอักษรจีน}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาจีน
| nativename = 汉语 ''ฮั่นอวี่'', 中文 ''จงเหวิน''
| states = [[ประเทศจีน|จีน]] ([[จีนแผ่นดินใหญ่]] [[ฮ่องกง]] [[มาเก๊า]]) [[สาธารณรัฐจีน]] ([[ไต้หวัน]] และ [[รายชื่อเกาะของสาธารณรัฐจีน|เกาะอื่น]]) [[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] [[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] [[ประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] [[ประเทศพม่า|พม่า]] [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]] [[ประเทศสิงคโปร์|สิงคโปร์]] และบางส่วนใน [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] [[ประเทศเกาหลีเหนือ|เกาหลีเหนือ]] [[ประเทศเกาหลีใต้|เกาหลีใต้]] และชุมชนจีน ทั่วโลก
| region = [[เอเชียตะวันออก]] บางส่วนใน[[เอเชียใต้]] และ [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] รวมถึง[[ยุโรป]] และ[[อเมริกา]]
| speakers = 1.2 พันล้าน
| rank = 1
| script = [[อักษรจีนตัวเต็ม]] [[อักษรจีนตัวย่อ]] [[พินอิน]]
| familycolor = Sino-Tibetan
| ancestor = [[ภาษาจีนเก่า]]
| ancestor2 = [[ภาษาจีนยุคกลาง]]
| nation = {{flag|สาธารณรัฐประชาชนจีน}}<br/>{{flag|สาธารณรัฐจีน}}<br/>{{flag|สิงคโปร์}}
----
{{flag|สหประชาชาติ}}<br/>[[องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้]]<br/>{{flag|อาเซียน}}
| agency = ในสาธารณรัฐประชาชนจีน: [http://www.china-language.gov.cn/ หลายหน่วยงาน]<br />ในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) : [[Mandarin Promotion Council]]<br />ในสิงคโปร์: [[Promote Mandarin Council]]/ [[Speak Mandarin Campaign]] [http://mandarin.org.sg/html/home.htm]
|iso1=zh|iso2b=chi|iso2t=zho
|lc1=cdo|ld1=หมิ่นตง|ll1=Min (สำเนียง)
|lc2=cjy|ld2=จิ้น|ll2=Jin (สำเนียง)
|lc3=cmn|ld3=จีนกลาง|ll3=ภาษาจีนกลาง
|lc4=cpx|ld4=ปู่ซีอาน|ll4=Min (สำเนียง)
|lc5=czh|ld5=ฮุย|ll5=Hui (สำเนียง)
|lc6=czo|ld6=หมิ่นตง|ll6=Min (สำเนียง)
|lc7=dng|ld7=ตงกาน|ll7=Dungan language
|lc8=gan|ld8=กั้น|ll8=ภาษาจีนกั้น
|lc9=hak|ld9=แคะ|ll9=ภาษาจีนแคะ
|lc10=hsn|ld10=เซียง|ll10=ภาษาจีนเซียง
|lc11=mnp|ld11=หมิ่นเหนือ
|lc12=nan|ld12=หมิ่นใต้|ll12=Min Nan
|lc13=wuu|ld13=ง่อ|ll13=ภาษาจีนอู๋
|lc14=yue|ld14=กวางตุ้ง|ll14=ภาษาจีนกวางตุ้ง |date=2004|image=Chineselanguage.svg|imagecaption=ฮั่นอวี่เขียนด้วย[[อักษรจีนตัวเต็ม|อักษรดั้งเดิม]] (บน) และ[[อักษรจีนตัวย่อ|ตัวย่อ]] (กลาง) จงเหวิน (ล่าง)|imagesize=150px|stand1=[[ภาษาจีนมาตรฐาน]]|stand2=[[ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน]]}}
[[ไฟล์:Chinese language tree.png|left|thumb|พัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่าง ๆ]]
'''ภาษาจีน''' (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งใน[[ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต]] ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็น[[ภาษา]]เดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของ[[ภาษากลุ่มโรมานซ์]] เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"

ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน [[ภาษาจีนกลาง]] หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็น[[ภาษาทางการ]]ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] และ[[สาธารณรัฐจีน]]หรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของ[[ประเทศสิงคโปร์]] (ร่วมกับ [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษามลายู]] และ[[ภาษาทมิฬ]]) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ใน[[องค์การสหประชาชาติ]] (ร่วมกับ [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาอาหรับ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษารัสเซีย]] และ[[ภาษาสเปน]]) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ [[ฮ่องกง]] (ร่วมกับ[[ภาษาอังกฤษ]]) และ[[มาเก๊า]] (ร่วมกับ[[ภาษาโปรตุเกส]])

นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ [[อักษรจีนตัวเต็ม]] และ [[อักษรจีนตัวย่อ]]
[[ไฟล์:Map of sinitic languages full-th.svg|alt=|thumb|295x295px|แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่าง ๆ ใน[[ประเทศจีน]]]]


== ภาษาพูดของจีน ==
== ภาษาพูดของจีน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:58, 18 มีนาคม 2565

Useless and hard

ภาษาพูดของจีน

แผนที่ด้านขวาแสดงพื้นที่ที่มีประชาชนพูด ทั้งภาษาและสำเนียงภาษาจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพื้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้

นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาษาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้างบนอีก 3 ประเภท ได้แก่