ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานกาญจนาภิเษก"

พิกัด: 13°38′05″N 100°32′15″E / 13.634831°N 100.537477°E / 13.634831; 100.537477
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Thai_Motorway.svg ด้วย Thailand_road_sign_Expressway.svg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
[[ไฟล์:Thailand road sign Expressway.svg|100px|right]]
[[ไฟล์:Thailand road sign Expressway.svg|100px|right]]
'''สะพานกาญจนาภิเษก''' ({{lang-en|Kanchanaphisek Bridge}}) เป็นสะพานขึงข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]แห่งใหม่ของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ช่วงทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์) ลักษณะการก่อสร้างเป็นสะพานขึงระนาบคู่ขนาด 6 ช่องจราจร ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างท้องที่ตำบลบางจาก (เขต[[เทศบาลเมืองลัดหลวง]]) กับตำบลบางหัวเสือ (เขต[[เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย]]) [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 52 เมตร เพื่อให้เรือสินค้าสามารถเข้าออกได้ ตัวสะพานมีความยาวช่วงกลางแม่น้ำ 500 เมตร ซึ่งถือว่าเป็น "[[สะพานขึง]]" ที่มีช่วงกลางแม่น้ำยาวที่สุดในประเทศไทย และถือว่าเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูงที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
'''สะพานกาญจนาภิเษก''' ({{lang-en|Kanchanaphisek Bridge}}) เป็นสะพานขึงข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]แห่งใหม่ของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ช่วงทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์) ลักษณะการก่อสร้างเป็นสะพานขึงระนาบคู่ขนาด 6 ช่องจราจร ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างท้องที่ตำบลบางจาก (เขต[[เทศบาลเมืองลัดหลวง]]) กับตำบลบางหัวเสือ (เขต[[เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย]]) [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 52 เมตร เพื่อให้เรือสินค้าสามารถเข้าออกได้ ตัวสะพานมีความยาวช่วงกลางแม่น้ำ 500 เมตร ซึ่งถือว่าเป็น "[[สะพานขึง]]" ที่มีช่วงกลางแม่น้ำยาวที่สุดในประเทศไทย และถือว่าเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูงที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

== สมุดภาพ ==
<gallery>
ไฟล์:Place BridgeSuksawat PylonAA.jpg|เสาไพลอนรูปตัว A เอกลักษณ์เฉพาะของสะพานนี้ ภาพนี้เป็นมุมมองจากฝั่งสำโรงใต้
ไฟล์:Place BridgeSuksawat Pylon.jpg|ยอดเสาไพลอน สูงประมาณ 187 เมตร เป็นทรงยอดปราสาทสีทอง
ไฟล์:Place BridgeSuksawat frmDheebhankorn.jpg|การก่อสร้างสะพานกาญจนาภิเษก มุมมองจาก[[สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม]] (สะพานภูมิพล)
ไฟล์:507679741 d35c5bba10 o.jpg|การก่อสร้างสะพานกาญจนาภิเษก
</gallery>


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 27 มกราคม 2562

สะพานกาญจนาภิเษก
สะพานกาญจนาภิเษกในปัจจุบัน
มุมมองจากแพขนานยนต์พระประแดง
พิกัด13°38′05″N 100°32′15″E / 13.634831°N 100.537477°E / 13.634831; 100.537477
เส้นทางถนนกาญจนาภิเษก
ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้งอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
ชื่อทางการสะพานกาญจนาภิเษก
ผู้ดูแลการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เหนือน้ำสะพานภูมิพล 2
ท้ายน้ำอ่าวไทย
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานขึง
ความยาว951 เมตร
ความกว้าง36.7 เมตร
ความสูง187.6 เมตร
ช่วงยาวที่สุด500 เมตร
จำนวนช่วง2
เคลียร์ตอนล่าง52.2 เมตร
ประวัติ
วันเริ่มสร้างพ.ศ. 2547
วันเปิด15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ที่ตั้ง
แผนที่

สะพานกาญจนาภิเษก (อังกฤษ: Kanchanaphisek Bridge) เป็นสะพานขึงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งใหม่ของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ช่วงทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์) ลักษณะการก่อสร้างเป็นสะพานขึงระนาบคู่ขนาด 6 ช่องจราจร ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างท้องที่ตำบลบางจาก (เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง) กับตำบลบางหัวเสือ (เขตเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย) อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 52 เมตร เพื่อให้เรือสินค้าสามารถเข้าออกได้ ตัวสะพานมีความยาวช่วงกลางแม่น้ำ 500 เมตร ซึ่งถือว่าเป็น "สะพานขึง" ที่มีช่วงกลางแม่น้ำยาวที่สุดในประเทศไทย และถือว่าเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

แหล่งข้อมูลอื่น

13°38′05″N 100°32′15″E / 13.634831°N 100.537477°E / 13.634831; 100.537477

ดูเพิ่ม

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน
เหนือน้ำ
สะพานภูมิพล 2
สะพานกาญจนาภิเษก
ท้ายน้ำ
อ่าวไทย