ข้ามไปเนื้อหา

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว19 มกราคม พ.ศ. 2564
ระบบสุดท้ายสลายตัว21 ธันวาคม พ.ศ. 2564
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อซูรีแค
 • ลมแรงสูงสุด220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด895 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด41 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด22 ลูก
พายุไต้ฝุ่น9 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น5 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด554 คน
ความเสียหายทั้งหมด3.974 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2562, 2563, 2564, 2565 , 2566

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564 เป็นเหตุการณ์ในรอบวัฎจักรของการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในอดีตของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวลากยาวตลอด พ.ศ. 2564 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูกาลที่ชื่อแรกพายุตู้เจวียนพัฒนาเมื่อวันที่ 16 ของฤดูกาลพายุไต้ฝุ่นแรกชื่อ ซูรีแค สถานะพายุไต้ฝุ่นถึง 16 เมษายนมันก็กลายเป็นซูเปอร์ไต้ฝุ่นของปี ในวันถัดไปก็กลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดใน ปีพ.ศ.2564 ซูรีแคยังเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีพลังมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ในซีกโลกเหนือในเดือนเมษายน พายุไต้ฝุ่นยีนฟ้าและราอี สร้างความเสียหายมากกว่าครึ่งในฤดูกาลนี้ รวมมูลค่ารวม 1.720 พันล้านดอลลาร์ และไต้ฝุ่นราอีทำผู้เสียชีวิตมากกว่าครึ่งของฤดูกาลและมากกว่าพายุลูกอื่นๆนี้อีกด้วย

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นจะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าจับตาโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมของสหรัฐอเมริกายังได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย

ภาพรวมฤดูกาล

[แก้]

มาตราไต้ฝุ่นแปซิฟิกตะวันตกJMA

Typhoon RaiTropical Storm Kompasu (2021)Tropical Storm Lionrock (2021)Tropical Storm Dianmu (2021)Typhoon Chanthu (2021)Tropical Storm Conson (2021)Tropical Storm Lupit (2021)Typhoon CempakaTyphoon In-faTropical Storm KogumaTropical Storm Choi-wan (2021)Typhoon SurigaeTropical Storm Dujuan (2021)



Bão Chanthu (2021)Bão Conson (2021)Bão Lupit (2021)Bão Cempaka (2021)Bão In-fa (2021)Áp thấp nhiệt đới 8-W (2021)Bão Choi-wan (2021)Bão Surigae (2021)Bão Dujuan (2021)
มาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน
ประเภท ความเร็วลม
ห้า ≥70 ม./ว., ≥137 นอต
≥157 ไมล์/ชม., ≥252 กม./ชม.
สี่ 58–70 ม./ว., 113–136 นอต
130–156 ไมล์/ชม., 209–251 กม./ชม.
สาม 50–58 ม./ว., 96–112 นอต
111–129 ไมล์/ชม., 178–208 กม./ชม.
สอง 43–49 ม./ว., 83–95 นอต
96–110 ไมล์/ชม., 154–177 กม./ชม.
หนึ่ง 33–42 ม./ว., 64–82 นอต
74–95 ไมล์/ชม., 119–153 กม./ชม.
การจำแนกเพิ่มเติม
พายุ
โซนร้อน
18–32 ม./ว., 34–63 นอต
39–73 ไมล์/ชม., 63–118 กม./ชม.
พายุ
ดีเปรสชัน
≤17 ม./ว., ≤33 นอต
≤38 ไมล์/ชม., ≤62 กม./ชม.

การพยากรณ์ฤดูกาล

[แก้]

ในระหว่างฤดูกาล หลายหน่วยงานอุตุนิยมวิทยาและหน่วยงานทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละประเทศจะมีการคาดการณ์ของพายุหมุนเขตร้อน, พายุโซนร้อนและพายุไต้ฝุ่น ที่จะก่อตัวในช่วงฤดู และ/หรือ จะมีพายุกี่ลูกที่ส่งผลกระทบต่อประเทศนั้น หลายหน่วยงานนี้ได้รวมไปถึงองค์กรความเสี่ยงพายุโซนร้อน (TSR) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน, สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) และสำนักสภาพอากาศกลางของไต้หวันด้วย

พายุ

[แก้]

พายุโซนร้อนตู้เจวียน

[แก้]
2101 (JMA)・01W (JTWC)・เอาริง (PAGASA)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 22 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซูรีแค

[แก้]
2102 (JMA)・02W (JTWC)・บีซิง (PAGASA)
พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 24 เมษายน
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.43 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฉอยหวั่น

[แก้]
2103 (JMA)・04W (JTWC)・ดันเต (PAGASA)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 29 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโคะงุมะ

[แก้]
2104 (JMA)・05W (JTWC)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 13 มิถุนายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจำปี

[แก้]
2105 (JMA)・06W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 27 มิถุนายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นยีนฟ้า

[แก้]
2106 (JMA)・09W (JTWC)・ฟาเบียน (PAGASA)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 กรกฎาคม – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเจิมปากา

[แก้]
2107 (JMA)・10W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเนพาร์ตัก

[แก้]
2108 (JMA)・11W (JTWC)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 28 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูปิต

[แก้]
2109 (JMA)・13W (JTWC)・ฮัวนิง (PAGASA)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนนิดา

[แก้]
2111 (JMA)・15W (JTWC)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 สิงหาคม – 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมีรีแน

[แก้]
2110 (JMA)・14W (JTWC)・โกรีโย (PAGASA)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 10 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโอไมส์

[แก้]
2112 (JMA)・16W (JTWC)・อิซัง (PAGASA)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโกนเซิน

[แก้]
2113 (JMA)・18W (JTWC)・โฮลีนา (PAGASA)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจันทู

[แก้]
2114 (JMA)・19W (JTWC)・กีโก (PAGASA)
พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นมินดุลเล

[แก้]
2116 (JMA)・20W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเตี้ยนหมู่

[แก้]
2115 (JMA)・21W (JTWC)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 24กันยายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนไลออนร็อก

[แก้]
2117 (JMA)・22W (JTWC)・ลันนี (PAGASA)
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 12 ตุลาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคมปาซุ

[แก้]
2118 (JMA)・24W (JTWC)・มาริง (PAGASA)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 14 ตุลาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงน้ำเทิน

[แก้]
2119 (JMA)・23W (JTWC)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 17 ตุลาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นหมาเหล่า

[แก้]
2120 (JMA)・25W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 29 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นญาโตะฮ์

[แก้]
2121 (JMA)・27W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 พฤศจิกายน – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นราอี

[แก้]
2122 (JMA)・28W (JTWC)・โอเด็ตต์ (PAGASA)
พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 22 ธันวาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 29W

[แก้]
29W (JTWC)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 17 ธันวาคม
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 20 มกราคม
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W

[แก้]
03W (JTWC)・กรีซิง (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 14 พฤษภาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 07W

[แก้]
07W (JTWC)・เอโมง (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08W

[แก้]
08W (JTWC)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 8 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 19 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1012 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.88 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 28 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 1 – 3 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 2 – 3 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17W

[แก้]
17W (JTWC)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 4 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1008 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.77 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 7 – 8 กันยายน
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของเกาะไหหนานในวันที่ 7 กันยายน[1]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 27 กันยายน – 3 ตุลาคม
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

[แก้]
นันโด (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 7 – 8 ตุลาคม
ความรุนแรง <55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 26W

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา 24 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

เวลา 00:00 UTC วันที่ 22 ตุลาคม กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นระบุว่ามีหย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นบริเวณนอกชายฝั่งด้านตะวันออกของเกาะมินดาเนา[2] สองวันถัดมากรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นได้ปรับให้ระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ขณะที่ระบบอยู่บริเวณชายฝั่งจังหวัดปาลาวัน ประเทศฟิลิปปินส์[3] วันเดียวกันนั้น ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมเริ่มติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำลูกเดียวกันนี้ และระบุสถานะว่ามีโอกาสในการก่อตัว[ไปเป็นพายุหมุน]ต่ำ[4] ซึ่งต่อมาได้มีการปรับไปเป็นโอกาสระดับปานกลาง[5]

รายชื่อพายุ

[แก้]

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[6] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[7] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[6] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[7] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล

[แก้]

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง)[8] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[9] ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2564 คือ ตู้เจวียน จากชุดที่ 4 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้าย คือ ราอี จากชุดที่ 4 รวมมีชื่อถูกใช้ทั้งหมด 22 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2564
ชุดที่ รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุดที่ รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุดที่ รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุดที่ รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุดที่ รหัสพายุ ชื่อพายุ
4 2101 ตู้เจวียน
(Dujuan)
4 2106 ยีนฟ้า
(In-fa)
4 2111 นิดา
(Nida)
4 2116 มินดุลเล
(Mindulle)
4 2121 ญาโตะฮ์
(Nyatoh)
2102 ซูรีแค
(Surigae)
2107 เจิมปากา
(Cempaka)
2112 โอไมส์
(Omais)
2117 ไลออนร็อก
(Lionrock)
2122 ราอี
(Rai)
2103 ฉอยหวั่น
(Choi-wan)
2108 เนพาร์ตัก
(Nepartak)
2113 โกนเซิน
(Conson)
2118 คมปาซุ
(Kompasu)
2104 โคะงุมะ
(Koguma)
2109 ลูปิต
(Lupit)
2114 จันทู
(Chanthu)
2119 น้ำเทิน
(Namtheun)
2105 จำปี
(Champi)
2110 มีรีแน
(Mirinae)
2115 เตี้ยนหมู่
(Dianmu)
2120 หมาเหล่า
(Malou)

ฟิลิปปินส์

[แก้]

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[10] โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อ เป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) และมีกำหนดจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล ค.ศ. 2025 (พ.ศ. 2568) ด้วย[10]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2564
เอาริง (Auring) บีซิง (Bising) กรีซิง (Crising) ดันเต (Dante) เอโมง (Emong)
ฟาเบียน (Fabian) โกรีโย (Gorio) ฮัวนิง (Huaning) อิซัง (Isang) โฮลีนา (Jolina)
กีโก (Kiko) ลันนี (Lannie) มาริง (Maring) นันโด (Nando) โอเดตต์ (Odette)
ปาโอโล (Paolo) (ไม่ถูกใช้) เกดัน (Quedan) (ไม่ถูกใช้) รามิล (Ramil) (ไม่ถูกใช้) ซาโลเม (Salome) (ไม่ถูกใช้) ตีโน (Tino) (ไม่ถูกใช้)
อูวัน (Uwan) (ไม่ถูกใช้) เบร์เบนา (Verbena) (ไม่ถูกใช้) วิลมา (Wilma) (ไม่ถูกใช้) ยัสมิน (Yasmin) (ไม่ถูกใช้) โซไรดา (Zoraida) (ไม่ถูกใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาลามิด (Alamid) (ยังไม่ใช้) บรูโน (Bruno) (ยังไม่ใช้) โกนชิง (Conching) (ยังไม่ใช้) โดโลร์ (Dolor) (ยังไม่ใช้) เอร์นี (Ernie) (ยังไม่ใช้)
โฟลรันเต (Florante) (ยังไม่ใช้) เฮราร์โด (Gerardo) (ยังไม่ใช้) เอร์นัน (Hernan) (ยังไม่ใช้) อิสโก (Isko) (ยังไม่ใช้) เจอโรม (Jerome) (ยังไม่ใช้)

การถอนชื่อ

[แก้]

ภายหลังจากฤดูกาล คณะกรรมการไต้ฝุ่นได้ถอนชื่อ โกณเซิน คมปาซุ และ ราอี ออกจากชุดรายชื่อ และจะมีการประกาศชื่อที่จะนำมาใช้ทดแทนในปี พ.ศ. 2567[11] [12]

ผลกระทบ

[แก้]

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2564 ตารางนี้ยังมีภาพรวมของความรุนแรงของระบบ ระยะเวลา บริเวณที่มีผลกระทบกับแผ่นดิน และจำนวนความเสียหายหรือจำนวนผู้เสียชีวิตใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพายุ

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
19 – 20 มกราคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa ฟิลิปปินส์ &000000001320000000000013.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 3 [13]
ตู้เจวียน 16 – 23 กุมภาพันธ์ พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 996 hPa ปาเลา, ฟิลิปปินส์ &00000000032900000000003.29 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1 [14]
14 มีนาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ซูรีแค 12 – 24 เมษายน พายุไต้ฝุ่น 220 กม./ชม. 895 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, ปาเลา, ซูลาเวซี, ฟิลิปปินส์ &000000001047000000000010.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10 [15][16][17]
03W 12 – 14 พฤษจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa ฟิลิปปินส์ &0000000000486000000000486 พันดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000ไม่มี [18]
ฉอยหวั่น 29 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 998 hPa ปาเลา, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &00000000063900000000006.39 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &000000000000001100000011 [19][20]
30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
โคะงุมะ 11 – 13 มิถุนายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 996 hPa จีนตอนใต้, เวียดนาม, ลาว &00000000098740000000009.87 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &00000000000000010000001 [21][22]
จำปี 20 – 27 มิถุนายน พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 980 hPa หมู่เกาะมาเรียนา &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
30 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
07W 3 – 6 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
08W 5 – 8 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa ฟิลิปปินส์, จีนตอนใต้, เวียดนาม &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
ยีนฟ้า 15 – 29 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 950 hPa ฟิลิปปินส์, หมู่เกาะรีวกีว, ไต้หวัน, จีน &00000010000000000000001 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 6
เจิมปากา 17 – 25 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 980 hPa จีนตอนใต้, เวียดนาม &00000000042500000000004.25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 3 [23][24][25]
19 – 20 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1012 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
เนพาร์ตัก 22 – 28 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 990 hPa ญี่ปุ่น &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
28 – 29 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
30 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 998 hPa ญี่ปุ่น &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
31 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 998 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
1 – 3 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 996 hPa หมู่เกาะรีวกีว, ไต้หวัน &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
12W 2 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa ญี่ปุ่น &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
ลูปิต 2 – 9 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 984 hPa เวียดนาม, จีนตอนใต้, ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว, ญี่ปุ่น &0000000226800000000000227 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 7 [26][27][28][29][30][31][32][33]
มีรีแน 3 – 10 สิงหาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 980 hPa หมู่เกาะรีวกีว, ญี่ปุ่น, ภาคตะวันตกของแคนาดา &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
นิดา 3 – 8 สิงหาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 992 hPa รัฐอะแลสกา &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
โอไมส์ 10 – 23 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 994 hPa หมู่เกาะมาร์แชลล์, ไมโครนีเชีย, หมู่เกาะมาเรียนา, หมู่เกาะรีวกีว, เกาหลีใต้ &0000000000000000000000 13 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000ไม่มี
17W 1 – 4 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
โกนเซิน 5 – 13 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 992 hPa ฟิลิปปินส์, ไหหนาน, เวียดนาม &000000003610000000000036.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 22 [34][35][36]
จันทู 5 – 18 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 215 กม./ชม. 905 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว, จีนตะวันออก, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น &0000000000748000000000748 พันดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000ไม่มี [37]
7 – 8 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa เวียดนาม &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
มินดุลเล 22 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 920 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น, รัสเซียตะวันออกไกล &0000000000000000000000เล็กน้อย &0000000000000000000000ไม่มี
เตี้ยนหมู่ 22 – 25 กันยายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา &0000000000000000000000ไม่ทราบ 8 [38][39]
27 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
ไลออนร็อก 5 – 10 ตุลาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 994 hPa ฟิลิปปินส์, จีนตอนใต้, ฮ่องกง, เวียดนาม &0000000000241000000000241 พันดอลลาร์สหรัฐ 3 [40]
คมปาซุ 7 – 14 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 975 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีนตอนใต้, เวียดนาม &0000000126500000000000127 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 44 [41][42]
7 – 8 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
น้ำเทิน 8 – 16 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 996 hPa แปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ, รัฐอะแลสกา &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
หมาเหล่า 23 – 29 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 965 hPa หมู่เกาะโบนิน &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
26W 24 – 27 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
ญาโตะฮ์ 28 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 925 hPa หมู่เกาะโบนิน &0000000000000000000000ไม่มี &0000000000000000000000ไม่มี
ราอี 11 – 21 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, ปาเลา, ฟิลิปปินส์, หมู่เกาะสแปรตลี, เวียดนาม, ตอนใต้ของจีน, ฮ่องกง, มาเก๊า &00000010173400000000001.02 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 410 [43]
29W 14 – 17 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa มาเลเซีย &000000007000000000000070 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 54 [44]
สรุปฤดูกาล
41 ลูก 19 มกราคม – 21 ธันวาคม พ.ศ. 2564   220 กม./ชม. 895 hPa   &00000039740000000000003.97 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 554

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "WWJP27 RJTD 070000". Japan Meteorological Agency. 7 September 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-07. สืบค้นเมื่อ 7 September 2021.
  2. "JMA Warning and Summary 22000". Tokyo, Japan: Japan Meteorological Agency. October 22, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 25, 2021. สืบค้นเมื่อ October 25, 2021.
  3. "JMA Warning and Summary 240600". Tokyo, Japan: Japan Meteorological Agency. October 24, 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-24. สืบค้นเมื่อ October 25, 2021.
  4. Significant Tropical Weather Advisory for the Western and South Pacific Oceans Reissued (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 24 ตุลาคม 2564. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 ตุลาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2564. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  5. Significant Tropical Weather Advisory for the Western and South Pacific Oceans (Report). United States Joint Typhoon Warning Center. 24 ตุลาคม 2564. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 ตุลาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2564. {{cite report}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. 6.0 6.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone Summary December 1999". Australian Severe Weather. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 11, 2012. สืบค้นเมื่อ October 1, 2013.
  7. 7.0 7.1 The Typhoon Committee (February 21, 2013). "Typhoon Committee Operational Manual 2013" (PDF). World Meteorological Organization. pp. 37–38. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ August 1, 2013. สืบค้นเมื่อ October 1, 2013.
  8. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  9. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-12. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2014.
  10. 10.0 10.1 "Philippine Tropical Cyclone Names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2015.
  11. "REPORT OF THE FIFTY-FIFTH SESSION OF TYPHOON COMMITTEE" (PDF). Typhoon Committee. April 30, 2023. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-07-18. สืบค้นเมื่อ April 30, 2023.
  12. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-06-02. สืบค้นเมื่อ 2023-05-29.
  13. "SitRep No. 12 re Preparedness Measures and Effects for TEFS, LPAs, and ITCZ" (PDF). NDRRMC. January 29, 2021.
  14. "SitRep no.13 re Preparedness Measures and Effects for STS Auring" (PDF). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ March 5, 2021.
  15. "SitRep no. 10 re Preparedness Measures and Effects for Typhoon Bising" (PDF). ndrrmc.gov.ph (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). April 25, 2021. สืบค้นเมื่อ April 25, 2021.
  16. Karen Lema (April 21, 2021). "Four crew dead, 9 missing after cargo ship runs aground in Philippines". Yahoo! News. สืบค้นเมื่อ April 21, 2021.
  17. "Republic of Palau: Typhoon Surigae - Emergency Plan of Action (EPoA), DREF Operation n° 1 MDRPW001" (PDF). ReliefWeb. International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies (IFRC/ICRC). April 26, 2021. สืบค้นเมื่อ April 27, 2021.
  18. "SitRep no.06 re Preparedness Measures for Tropical Depression CRISING" (PDF). NDRRMC. May 28, 2021.
  19. SitRep no.06 re Preparedness Measures and Effects of ITCZ enhanced by TS DANTE (PDF) (Report). National Disaster Risk Reduction and Management Council. June 6, 2021. สืบค้นเมื่อ June 6, 2021.
  20. "SitRep no.10 re Preparedness Measures and Effects of ITCZ enhanced by TS DANTE" (PDF). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ June 11, 2021.[ลิงก์เสีย]
  21. "Bão số 2 lướt qua gây thiệt hại tại Thái Bình, Hải Phòng". Vietnamnet (ภาษาเวียดนาม). June 13, 2021. สืบค้นเมื่อ June 13, 2021.
  22. "Thiệt hại do thiên tai từ đầu năm 2021 (tính đến 07h00 ngày 17/6/2021)". Vietnam Disaster Management Authority (ภาษาเวียดนาม). June 17, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 17, 2021. สืบค้นเมื่อ June 17, 2021.
  23. "众志成城抹灾痕!阳西县把台风造成损失降至最低" [Committed to wipe out the scars of disaster! Yangxi County minimizes the damage caused by the typhoon]. 阳西县人民政府网站 [Yangxi County People's Government] (ภาษาจีน). 23 July 2021.
  24. Lo, Clifford; Leung, Christy (20 July 2021). "Hong Kong hiker swept away by stream amid No 3 typhoon warning found dead after hours-long search by rescuers, divers". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ).
  25. "Mường Lát (Thanh Hóa): Hơn 300 hộ dân sơ tán vì mưa lũ" [Muong Lat (Thanh Hoa): More than 300 households evacuated because of floods]. Tổng cục Phòng chống thiên tai [General Department of Disaster Prevention] (ภาษาเวียดนาม). 24 July 2021.
  26. "豪雨致災農損破4.2億 嘉義縣受損最重" [Heavy rains cause damage to farmers in 420 million disasters, and Chiayi County suffers the most]. The Liberty Times (ภาษาจีน). August 10, 2021. สืบค้นเมื่อ August 11, 2021.
  27. "颱風盧碧登陸福建多地水災撤離逾8萬人 村官防汛因公殉職". Central News Agency (ภาษาจีน). 2021-08-07. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-07. สืบค้นเมื่อ 2021-08-13.
  28. "夫妻到仁愛鄉德魯灣橋下捕魚 失足落水雙亡". Central News Agency (ภาษาจีน). 2021-08-06. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-06. สืบค้นเมื่อ 2021-08-12.
  29. "男研究生掉落曾文水庫 警消搜救尚無所獲". Central News Agency (ภาษาจีน). 2021-08-12. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-12. สืบค้นเมื่อ 2021-08-13.
  30. Charlier, Philip (2021-08-12). "Body of graduate student found in flooded pavilion at scenic reservoir". Taiwan English News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-12. สืบค้นเมื่อ 2021-08-13.
  31. Charlier, Philip (2021-08-07). "Big wave hits joggers on Tainan City coast leaving one dead, one injured". Taiwan English News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-07. สืบค้นเมื่อ 2021-08-13.
  32. "台風9号 岡山で1人死亡、島根では1人行方不明 けが人相次ぐ". Mainichi Shimbun (ภาษาญี่ปุ่น). 2021-08-09. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-12. สืบค้นเมื่อ 2021-08-24.
  33. "大雨被害5億8千万円/青森県内 19日時点". Tō-Ō Nippō (ภาษาญี่ปุ่น). Yahoo News Japan. 2021-08-20. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-24. สืบค้นเมื่อ 2021-08-23.
  34. "Sitrep no.14 for Typhoon Jolina (2021)". NDRRMC. September 17, 2021.[ลิงก์เสีย]
  35. Daily Report 13/09/2021
  36. Vân Anh (September 13, 2021). "Thiệt hại ban đầu do bão số 5 gây ra". PetroTimes (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ September 13, 2021.
  37. "Sitrep no.7 for Typhoon Kiko (2021)". ndrrmc.gov.ph. National Disaster Risk Reduction and Management Council. September 17, 2021. สืบค้นเมื่อ September 15, 2021.[ลิงก์เสีย]
  38. Chi, Quỳnh (September 29, 2021). "6 người thiệt mạng, 2 người mất tích trong trận lũ lụt do bão nhiệt đới Dianmu ở Thái Lan". Vietnam Television (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ December 30, 2021.
  39. "Vớt ve chai trên hồ thủy lợi, 2 anh em bị đuối nước". Sài Gòn Giải Phóng (ภาษาเวียดนาม). September 23, 2021. สืบค้นเมื่อ December 30, 2021.
  40. "SitRep No. 3 for Tropical Depression LANNIE (2021)". National Disaster Risk Reduction and Management Council. October 7, 2021.[ลิงก์เสีย]
  41. SitRep No. 20 for Severe Tropical Storm Maring (2021) (Report). NDRRMC. October 31, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 19, 2021. สืบค้นเมื่อ October 31, 2021.
  42. "Typhoon Kompasu: Hong Kong downgrades storm to T3 signal, transport set to resume". Hong Kong Free Post. October 13, 2021. สืบค้นเมื่อ October 15, 2021.
  43. "Typhoon Odette: Damage, areas hit, and relief updates". Rappler. December 20, 2021. สืบค้นเมื่อ December 20, 2021.
  44. "At least eight dead in Malaysia floods as rescue effort stumbles". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2021-12-20. สืบค้นเมื่อ 2021-12-21.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]