ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว9 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
ระบบสุดท้ายสลายตัว10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเฟลิเซีย
 • ลมแรงสูงสุด145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด947 มิลลิบาร์ (hPa; 27.97 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด19 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด19 ลูก
พายุเฮอริเคน8 ลูก
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
2 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด13 คน
ความเสียหายทั้งหมด> 255 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก
2562, 2563, 2564, 2565, 2566

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564 คือช่วงของฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนภายในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก โดยฤดูกาลนี้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน ในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง และไปจบลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน[1] โดยขอบเขตดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา

พายุ[แก้]

พายุโซนร้อนแอนเดรส[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 11 พฤษภาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนบลังกา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
998 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนการ์โลส[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 16 มิถุนายน
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโดโลเรส[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 20 มิถุนายน
ความรุนแรง 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที)
990 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.23 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเอนริเก[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 30 มิถุนายน
ความรุนแรง 90 ไมล์/ชม. (150 กม./ชม.) (1 นาที)
975 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.79 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเฟลิเซีย[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
947 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.96 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกิเยร์โม[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฮิลดา[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
985 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฆิเมนา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนอิกนาซิโอ[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเควิน[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนลินดา[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
950 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาร์ตี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนนอรา[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 30 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
977 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.85 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโอลาฟ[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 11 กันยายน
ความรุนแรง 100 ไมล์/ชม. (155 กม./ชม.) (1 นาที)
974 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.76 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนพาเมลา[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 14 ตุลาคม
ความรุนแรง 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที)
985 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.09 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนริก[แก้]

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 26 ตุลาคม
ความรุนแรง 105 ไมล์/ชม. (165 กม./ชม.) (1 นาที)
977 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.85 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเทร์รี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแซนดรา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 9 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2564 ถ้ามีชื่อที่ถูกถอนจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2565 โดยชื่อที่ไม่ถูกปลด จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2570[2] รายชื่อชุดนี้เป็นชุดเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล พ.ศ. 2559 ยกเว้น พาเมลา ซึ่งถูกแทนที่ด้วย แพทริเซีย ในฤดูกาล 2564 ชื่อในชุดรายชื่อถูกนำมาใช้ทั้งหมด 18 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกในฤดูกาล 2564
รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ
01E แอนเดรส
(Andres)
06E เฟลิเซีย
(Felicia)
11E เควิน
(Kevin)
16E พาเมลา
(Pamela)
02E บลังกา
(Blanca)
07E กิเยร์โม
(Guillermo)
12E ลินดา
(Linda)
17E ริก
(Rick)
03E การ์โลส
(Carlos)
08E ฮิลดา
(Hilda)
13E มาร์ตี
(Marty)
19E แซนดรา
(Sandra)
04E โดโลเรส
(Dolores)
10E อิกนาซิโอ
(Ignacio)
14E นอรา
(Nora)
18E เทร์รี
(Terry)
05E เอนริเก
(Enrique)
09E ฆิเมนา
(Jimena)
15E โอลาฟ
(Olaf)

สำหรับพายุที่ก่อตัวภายในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเส้น 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล ชื่อที่จะใช้จะเป็นชื่อในชุดหมุนเวียนสี่ชุด[3] โดยในฤดูนี้ ไม่มีพายุหมุนเขตร้อนใดได้รับชื่อจากชุดรายชื่อนี้เลย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Neal Dorst. When is hurricane season? (Report). Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 6, 2010. สืบค้นเมื่อ November 25, 2010.
  2. "Tropical Cyclone Names". www.nhc.noaa.gov. Miami, Florida: National Hurricane Center. 2021. สืบค้นเมื่อ May 10, 2021.
  3. "Pacific Tropical Cyclone Names 2016–2021". Central Pacific Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. May 12, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PHP)เมื่อ January 8, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]