ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2563–2564

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2563–2564
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
ระบบสุดท้ายสลายตัว24 เมษายน พ.ศ. 2564
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อฟาราจี
 • ลมแรงสูงสุด230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด925 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด16 ลูก
พายุดีเปรสชันทั้งหมด16 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด12 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน7 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง2 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรงมาก1 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 34 คน
ความเสียหายทั้งหมด> 11 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2561–62, 2562–63, 2563–64, 2564–65, 2565–66

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2563–2564 เป็นฤดูกาลในอดีตของวัฏจักรรายปีของการก่อตัวพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อน โดยฤดูกาลเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2563 และไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน 2564 โดยมีข้อยกเว้นสำหรับมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 วันที่เหล่านี้เป็นช่วงเวลาตามธรรมเนียมนิยมซึ่งเป็นช่วงจำกัดของแต่ละปี ซึ่งมีพายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนก่อตัวภายในแอ่ง ภายในทางตะวันตกของเส้น 90 °ตะวันออก และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแอ่งนี้จะได้รับการเฝ้าระวังโดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเรอูนียง

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้
  หย่อมความกดอากาศต่ำ/การแปรปรวนของลมในเขตร้อน (≤50 กม./ชม.)   พายุไซโคลน (118–165 กม./ชม.)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน/พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (51–62 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรง (166–212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (63–88 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรงมาก (≥212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)

พายุ[แก้]

พายุไซโคลนอาลิเซีย[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02[แก้]

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
ระยะเวลา 14 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
999 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.5 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงบองโกโย[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 10 ธันวาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
988 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.18 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงชาเลน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 30 ธันวาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
983 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.03 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 05[แก้]

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
ระยะเวลา 28 ธันวาคม (เข้ามาในแอ่ง) – 3 มกราคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงดานีโย[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 ธันวาคม – 12 มกราคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
981 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.97 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเอโลยส์[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 25 มกราคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
967 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.56 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางจอชัว[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 (เข้ามาในแอ่ง) – 19 มกราคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
991 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.26 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 09[แก้]

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 (เข้ามาในแอ่ง) – 28 มกราคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1001 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.56 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงมากฟาราจี[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรงมาก (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 13 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนกูอัมเบ[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 22 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
953 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.14 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงแมเรียน[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 (เข้าสู่แอ่ง) – 2 มีนาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงฮาบานา[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 มีนาคม – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
967 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.56 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอีมัน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 8 มีนาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 15[แก้]

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
ระยะเวลา 25 – 28 มีนาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนโจโบ[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 24 เมษายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนและพายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนใดที่ถูกประมาณว่ามีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีที่ 65 กม./ชม. โดยการวัดของศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเกาะลาเรอูนียง ประเทศฝรั่งเศส (RSMC ลาเรอูนียง) พายุลูกดังกล่าวจะได้รับชื่อ อย่างไรก็ตาม ศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสและประเทศมาร์ดากัสการ์จะเป็นผู้กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนแทน โดยศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสจะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนทวีกำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลาง ในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 90 องศาตะวันออก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่กำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลางในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 55 องศาตะวันออก พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากศูนย์ย่อยในประเทศมาร์ดากัสการ์ ตั้งแต่ฤดูกาล 2559–2560 เป็นต้นมา ชุดรายชื่อที่ใช้ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้จะถูกนำมาวนใช้ในทุก ๆ สามปี โดยชื่อพายุจะถูกใช้เพียงครั้งเดียว ดังนั้นชื่อพายุใดที่ถูกนำมาใช้แล้วในฤดูกาลนี้จะถูกถอนออกจากการวนใช้ซ้ำ และจะมีการตั้งชื่อขึ้นมาทดแทนในฤดูกาล 2566–2567 ส่วนชื่อพายุใดที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกนำไปใช้อีกครั้งในฤดูกาล 2566–2567[1]

  • อาลิเซีย
  • บองโกโย
  • ชาเลน
  • ดานีโย
  • เอโลยส์
  • ฟาราจี
  • กูอัมเบ
  • ฮาบานา
  • อีมัน
  • โจโบ
  • คันกา (ไม่ถูกใช้)
  • ลุดซี (ไม่ถูกใช้)
  • เมลีนา (ไม่ถูกใช้)
  • นาธอง (ไม่ถูกใช้)
  • โอเนียส์ (ไม่ถูกใช้)
  • เพลากี (ไม่ถูกใช้)
  • กัวมาร์ (ไม่ถูกใช้)
  • ริตา (ไม่ถูกใช้)
  • โซลานี (ไม่ถูกใช้)
  • ตาริก (ไม่ถูกใช้)
  • อูริเลีย (ไม่ถูกใช้)
  • วูยาเน (ไม่ถูกใช้)
  • วักเนอร์ (ไม่ถูกใช้)
  • ซูซา (ไม่ถูกใช้)
  • ยารอนา (ไม่ถูกใช้)
  • ซากาเรียส (ไม่ถูกใช้)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2016). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2016-10-05.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]