ผู้ใช้:Smile Muchalin

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Smile Muchalin
Smile Muchalin
วันเกิด29 มิถุนายน พ.ศ. 2543
อาชีพนักเรียน/นักศึกษา
เพศหญิง
สรรพนามเรา/คุณ/เขา
สถานที่อยู่บนโลก
เริ่มเขียน25 เมษายน พ.ศ 2559
สิ่งที่สนใจบังทันบอยส์, ดนตรีเคป็อป, ภาษาอังกฤษ, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลี, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, HTML, เดอะซิมส์, Gekken Shojo Nosaki - Kun, นิยาย, อนิเมะ, มังงะ, Adobe, ฮะอุรุ โนะ ยุโงะกุชิโระ
ความตั้งใจแปลบทความภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับวง Bangtan Sonyeondan ลงในวิกิไทย, แปลบทความที่น่าสนใจในภาษาอื่นๆลงวิกิไทย, คอยปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความของวง Bangtan Sonyeondan, สร้างหรือปรับปรุงแก้ไขบทความเกี่ยวกับวงบอยแบนด์สัญชาติเกาหลีใต้และการ์ตูนญี่ปุ่นให้มากและมีคุณภาพยิ่งขึ้น, แปลบทความภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอนิเมะ มังงะให้มากขึ้น
ติดวิกิพีเดียเกือบๆระยะสุดท้าย แต่เราไม่นิยมเก็บดาวแล้วก็พยายามเป็นผู้ดูแลระบบแค่นั้นเอง
ระดับทักษะพื้นฐาน

คุยกับเราได้นะเราไม่กัด 5555 ถามอะไรเราก็จะตอบให้ (ถ้าเรารู้นะ) ปรึกษาเราได้ทุกเรื่อง คุยเล่นก็ได้ (แต่อันนี้น่าจะหลังไมค์เอาเฟสเราไปเลยดีกว่า 5555) แต่เรื่องเงิน มุจลินท์ขอบาย ลาขาดค่ะเราไม่รู้จักกัน แค่บัตรคอนมุจลินท์ยังเอาตัวไม่รอดเลยค่ะ อย่าหวังพึ่งเรื่องเงินมุจลินท์เลย

— 
) Smile Muchalin

อื่นๆ[แก้]

วิกิพีเดีย:บาเบล
thผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่
en-2ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาอังกฤษได้ในระดับกลาง
This user can contribute with an intermediate level of English.
ja-1ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ในระดับพื้นฐาน
この利用者は簡単な日本語ができます。
ko-1ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาเกาหลีได้ในระดับพื้นฐาน
이 사용자는 한국어를 조금 구사할 수 있습니다.


zh-1ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาจีนได้ในระดับพื้นฐาน
該用戶能以基本中文進行交流。
该用户能以基本中文进行交流。
ผู้ใช้ตามภาษา
ผู้ใช้คนนี้เกรียน และพร้อมที่จะเกรียน ถ้าโดนเกรียนใส่ก่อน
ผู้ใช้คนนี้ติดการ์ตูน
ผู้ใช้คนนี้รักการอ่านและสนใจหนังสือ ทุกประเภท
ส่วนร่วมในวิกิพีเดีย
ผู้ใช้คนนี้เข้าร่วม
โครงการวิกิประเทศเกาหลี
ผู้ใช้คนนี้เข้าร่วม
โครงการวิกิการ์ตูนญี่ปุ่น

บทความที่กำลังเขียน[แก้]

ปี ชื่อบทความที่กำลังทำ ความคืบหน้า (ช่องบ่นๆๆๆๆ) เปอร์เซ็นที่แล้วเสร็จ หมายเหตุ
2016 แอสโตร (ASTRO) เหลือแปลส่วนประวัติก่อนเปิดตัว ฮรือมีแต่ศัพท์ยากๆมึน 90% เขียนแล้ว
เดย์ซิกส์ (Day6) กำลังแปลบทความเพิ่มเติมจากบทความเก่า อันนี้ก็เยอะแยะจริงอะไรจริง 30%
เรื่องวุ่นวายของนายเงือกกับผองเพื่อนพันธุ์ทะเล แปลยากกว่า 2 บทความด้านบนอีก นี่จะ S.O.S พร้อมเทแล้วน้าาา 1% en:Orenchi no Furo Jijō ลิ้งอังกฤษค่ะเผื่อใครอยากอ่าน (ใคร?)
เดอะโมสบิวทิฟูลโมเมนต์อินไลฟ์ : ยังฟอร์เอฟเวอะ (The Most Beautiful Moment In Life : Young Forever) ข้ามนายเงือกมาทำก่อนค่ะ คิดว่าคืบหน้านิดนึง 10%
อิมแพค (วงดนตรี) (IMFACT) แปลเสร็จแล้วค่ะ ข้ามทุกอย่างเลยฮรือ...แต่ไม่แน่ใจเรื่องทับศัพท์เลย คือชื่อศิลปินแปลกๆอะ บอกเลย ใครรู้ก็ช่วยแก้หน่อยละกัน ขอบคุณล่วงหน้าค่าา 98% กำลังเขียน/เนื่องจากต้องอัพเดตตลอดเลยไม่เต็มร้อยเปอร์จ๊ะ

บทความที่คิดจะเขียน/แปล/ปรับปรุงแก้ไข[แก้]

ปี ชื่อบทความ ประเภทบทความ
2016 โรโบติก·โน้ต มังงะ
เกมหลอกคนลวง
คุณหนูปากร้ายxจิ้งจอกปีศาจ
อัศวินมือใหม่มังกรป้ายแดง
โนเกมโนไลฟ์ (en:No Game No Life)
แบล็คร็อคชู้ตเตอร์
คาเงโร่ เดส
เรื่องวุ่นวายของนายเงือกกับผองเพื่อนพันธุ์ทะเล
นักเขียนการ์ตูนรายไม่สัปดาห์ นามของข้าโนซากิคุง (en:Monthly Girls' Nozaki-Kun)
เลิฟ สเตจ
เดย์ซิกส์ บอยแบนด์
ซอร์ดอาร์ทออนไลน์ (en:Sword Art Online) อะนิเมะ
แร็ปมอนสเตอร์ ศิลปิน
The Most Beautiful Moment In Life : Young Forever อัลบั้มเพลงวงบังทันบอยส์
The Most Beautiful Moment In Life, Past 1
The Most Beautiful Moment In Life, Past 2
Dark & Wild
O! R! U! 8L! 2 ?

บทความที่สมบูรณ์แล้ว[แก้]

เรียกว่าสมบูรณ์สุดๆคงไม่ได้เพราะมันก็ต้องเพิ่มอัพเดตตลอดแต่ก็ถือว่าเสร็จไปส่วนหนึ่งละกัน ฮรือ...มุจลินท์ผู้ปล่อยวาง

บทความที่สนใจ[แก้]

แหล่งทดลองบทความของมุจลินท์[แก้]

กระบะทรายของมุจลินท์

บุคคลที่เกิดวันเดียวกัน[แก้]

ตารางเทียบเสียงเกาหลี[แก้]

ระบบการถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมันฉบับปรับปรุง[แก้]

เสียงพยัญชนะ[แก้]

อักษรโรมัน อักษรเกาหลี ตำแหน่ง
ต้นพยางค์แรก ต้นพยางค์อื่น ท้ายพยางค์
ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์ ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์ ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์
 b / b / p   บีอึบ  พ  baji  าจี
 (กางเกง)
 บ  haengbok  แฮ็ง
 (ความสุข)
 บ  bap  พั
 (ข้าว)
 ch / ch / t   ชีอึด  ช  cheonji  ช็อนจี
 (จักรวาล)
 ช  Chungcheong  ชุงช็อง
 (ชื่อจังหวัด)
 ด  kkot  ก
 (ดอกไม้)
 d / d / t   ทีกึด  ท  Daegu  แกู
 (ชื่อเมือง)
 ด  daedap  แทดั
 (ตอบ)
 ด  natgari  นัการี
 (กองฟาง)
 g / g / k   คีย็อก  ค  Gangwon  คังว็อน
 (ชื่อจังหวัด)
 ก  Hanguk  ฮันกุ
 (ประเทศเกาหลี)
 ก  goguk  โคกุ
 (บ้านเกิดเมืองนอน)
 h / h / –   ฮีอึด  ฮ  hobak  โบัก
 (ฟักทอง)
 ฮ  gonghang  คงฮั
 (สนามบิน)
 j / j / t   จีอึด  ช  jido  ชีโด
 (แผนที่)
 จ  jujeonja  ชูจ็อน
 (กาน้ำ)
 ด  bit  พิ
 (หนี้, หนี้สิน)
 jj / jj / –   ซังจีอึด  จ  jjari  ารี
 (มูลค่า)
 จ  gajja  คา
 (ของปลอม)
 k / k / k   คีอึก  ค  kal  คั
 (มีด)
 ค  mankeum  มันคึ
 (เท่ากับ)
 ก  bueok  พูอ็อ
 (ห้องครัว)
 – / kh / –  ㄱㅎ คีย็อกฮีอึด
 ค  chukha  ชู
 (ขอแสดงความยินดี)
 kk / kk / k   ซังกีย็อก  ก  kkangtong  กังทง
 (กระป๋อง)
 ก  eokkae  ออแ
 (ไหล่)
 ก  bak  พั
 (ข้างนอก)
 m / m / m   มีอึม  ม  maeum  าอึม
 (จิตใจ)
 ม  nonmun  นนมุ
 (วิทยานิพนธ์)
 ม  gim  คิ
 (สาหร่ายทะเล)
 n / n / n   นีอึน  น  na  
 (ฉัน)
 น  nuna  นู
 (คำที่ผู้ชายใช้เรียกพี่สาว)
 น  Namdaemun  นัมแดมุ
 (ชื่อตลาด)
 – / n / – (เมื่อตาม
 หลังเสียง m, n, ŋ)
  รีอึล
 น  Gangneung  คังนึ
 (ชื่อเมือง)
 – / – / ng   อีอึง
 ง  madang  มาดั
 (ลาน, สวน)
 p / p / p   พีอึบ  พ  pal  พั
 (จำนวนแปด)
 พ  apeuda  อาพือดา
 (เจ็บ, ปวด)
 บ  yeopsaram  ย็อซารัม
 (คนข้าง ๆ)
 – / ph / –  ㅂㅎ บีอึบฮีอึด
 พ  iphak  อีพั
 (การสอบเข้า)
 pp / pp / –   ซังบีอึบ  ป  ppallae  ปัลแล
 (ซักผ้า)
 ป  ippal  อีปั
 (ฟัน)
 r / r, l / l   รีอึล  ร  ramyeon  ามย็อน
 (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป)
 ร  haru  ฮารู
 (วัน)
 ล  mal  มั
 (ม้า)
 ล  Jeolla  ช็อล
 (ชื่อจังหวัด)
 s / s / t   ชีอด  ซ  sada  าดา
 (ซื้อ)
 ซ  saengsan  แซ็งซั
 (การผลิต)
 ด  sutso  ซุโซ
 (วัวตัวผู้)
 s / s / – (เมื่อตาม
 ด้วยเสียงสระอีหรือ
 สระประสมวี)
  ชีอด  ช  sijang  ชีจัง
 (ตลาด)
 ช  dosi  โทชี
 (เมือง)
 ss / ss / t   ซังชีอด  ซ  ssal  ซั
 (ข้าวสาร)
 ซ  bulssuk  พุลซุ
 (กะทันหัน)
 ด  ssaetta  แซ็ตา
 (เหลือเฟือ)
 t / t / t   ทีอึด  ท  Taebaek  แแบ็ก
 (ชื่อภูเขา)
 ท  gita  คี
 (อื่น ๆ)
 ด  Hanbat  ฮันบั
 (ชื่อมหาวิทยาลัย)
 – / th / –  ㄷㅎ ทีกึดฮีอึด
 ท  mathyeong  มาย็อง
 (พี่ชายคนโต)
 tt / tt / –   ซังทีกึด  ต  ttukkeong  ตูก็อง
 (ฝา)
 ต  heoritti  ฮอรีตี
 (เข็มขัด)

เสียงสระ[แก้]

สระเดี่ยว[แก้]
อักษรโรมัน อักษรเกาหลี เงื่อนไข ใช้ ตัวอย่าง
คำ  คำทับศัพท์  ความหมาย
 a    เมื่อเป็นพยางค์เปิด[# 1]  ไม่มีพยัญชนะต้น  อา  ai  อาอี  เด็ก
 มีพยัญชนะต้น  –า  nara  น  ประเทศ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด[# 2]  ไม่มีพยัญชนะต้น  อั–  ap  อั  ข้างหน้า
 มีพยัญชนะต้น  –ั  bap  พั  ข้าว
 ae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แอ  aein  แออิน  คู่รัก
 มีพยัญชนะต้น  แ–  gae    สุนัข
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แอ็–  aengmusae  แอ็งมูแซ  นกแก้ว
 มีพยัญชนะต้น  แ–็  naemsae  แน็มแซ  กลิ่น
 e    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เอ  e  เอ  ที่ (คำชี้สถานที่)
 มีพยัญชนะต้น  เ–  nemo  นโม  สี่เหลี่ยม
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เอ็–  enganhada  เอ็นกันฮาดา  พอประมาณ
 มีพยัญชนะต้น  เ–็  sem  เซ็  การคำนวณ
 eo    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ออ  eomeoni  ออมอนี  แม่
 มีพยัญชนะต้น  –อ  seoda  ซดา  ยืน
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อ็อ–  eonni  อ็อนนี  คำที่ผู้หญิงใช้เรียกพี่สาว
 มีพยัญชนะต้น  –็อ  deoreopta  ทอร็อบทา  สกปรก
 eu    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อือ  euro  อือโร  ด้วย, โดย, ไปทาง
 มีพยัญชนะต้น  –ือ  seuseuro  ซือซือโร  ด้วยตนเอง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อึ–  maeum  มาอึ  จิตใจ
 มีพยัญชนะต้น  –ึ  ireum  อีรึ  ชื่อ
 i    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อี  ima  อีมา  หน้าผาก
 มีพยัญชนะต้น  –ี  si  ชี  โมง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อิ–  Yongin  ยงอิ  ชื่อเมือง
 มีพยัญชนะต้น  –ิ  sil  ชิ  ด้าย
 o    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  โอ  o  โอ  จำนวนห้า
 มีพยัญชนะต้น  โ–  podo    องุ่น
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อ–  ot    เสื้อผ้า
 มีพยัญชนะต้น  โ–ะ (ลดรูป)  don  ทน  เงินตรา
 u    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อู  ugi  อูกี  ฤดูฝน
 มีพยัญชนะต้น  –ู  dubu  ทูบู  เต้าหู้
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อุ–  undong  อุนดง  การออกกำลังกาย
 มีพยัญชนะต้น  –ุ  sul  ซุ  เหล้า
หมายเหตุ
  1. พยางค์เปิดคือพยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด)
  2. พยางค์ปิดคือพยางค์ที่มีพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด)
สระประสมสองส่วน[แก้]
อักษรโรมัน อักษรเกาหลี เงื่อนไข ใช้ ตัวอย่าง
คำ  คำทับศัพท์  ความหมาย
 oe    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว  oeguk  เวกุก  ต่างประเทศ
 มีพยัญชนะต้น  –เว  goeroum  คเวโรอุม  ความทุกข์
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว็–  oenson  เว็นซน  มือซ้าย
 มีพยัญชนะต้น  –เว็–  hoengdan  ฮเว็งดัน  การข้าม
 ui    เมื่อไม่มีพยัญชนะต้น  เป็นพยางค์แรก  อึย  uisa  อึยซา  หมอ
 ไม่ใช่พยางค์แรก  อี, อึย  Yeouido  ยออีโด, ยออึยโด  ชื่อสถานที่
 เมื่อมีพยัญชนะต้น  –ี  huin saek  ฮีนแซ็ก  สีขาว
 wa    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วา  wa  วา  มา
 มีพยัญชนะต้น  –วา  gwaja  ควาจา  ขนม
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วั–  wang  วั  กษัตริย์
 มีพยัญชนะต้น  –วั–  Gwangju  ควังจู  ชื่อเมือง
 wae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แว  wae  แว  ทำไม
 มีพยัญชนะต้น  –แว  dwaeji  ทแวจี  หมู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แว็–  waengwaeng  แว็แว็ง  เสียงดังหึ่ง ๆ อย่างผึ้งบิน
 มีพยัญชนะต้น  –แว็–  kkwaengnamu  กแว็งนามู  ชื่อต้นไม้
 we    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว  weiteo  เวอีทอ  พนักงานเสิร์ฟ
 มีพยัญชนะต้น  –เว  gwebeom  คเวบ็อม  ตัวอย่าง, แบบอย่าง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว็–  wennil  เว็นนิล  อะไร, เพราะอะไร
 wi    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วี  wi  วี  ข้างบน
 มีพยัญชนะต้น  –วี  gwi  ควี  หู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วิ–  witsaram  วิดซารัม  ผู้ใหญ่
 มีพยัญชนะต้น  –วิ–  swin  ชวิ  จำนวนห้าสิบ
 wo    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วอ  areumdawo!  อารึมดาวอ  สวยจังเลย!
 มีพยัญชนะต้น  –วอ  jwo  ชวอ  ขอ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ว็อ–  wollae  ว็อลแล  ดั้งเดิม
 มีพยัญชนะต้น  –ว็อ–  yeogwon  ยอกว็อ  หนังสือเดินทาง
 ya    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยา  yagu  ยากู  กีฬาเบสบอล
 มีพยัญชนะต้น  –ยา  chyawo  ชยาวอ  การอาบน้ำ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยั–  yak  ยั  ยา
 มีพยัญชนะต้น  –ยั–  dalgyal  ทัลกยั  ไข่ไก่
 yae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แย  yaegi  แยกี  เรื่องราว
 มีพยัญชนะต้น  –แย  gyae  คแย  เด็กคนนั้น
 ye    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เย  yejeol  เยจ็อล  มารยาท
 มีพยัญชนะต้น  –เย  sigye  ชีกเย  นาฬิกา
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เย็–  yennal  เย็นนัล  สมัยก่อน
 มีพยัญชนะต้น  –เย็–  gyetnal  คเย็ดนัล  วันส่งแชร์
 yeo    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยอ  yeohaeng  ยอแฮ็ง  การท่องเที่ยว
 มีพยัญชนะต้น  –ยอ  byeo  พยอ  รวงข้าว
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ย็อ–  yeonmal  ย็อนมัล  ปลายปี
 มีพยัญชนะต้น  –ย็อ–  ramyeon  รามย็อ  บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
 yo    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  โย  yori  โยรี  อาหาร, การทำอาหาร
 มีพยัญชนะต้น  –โย  hakgyo  ฮักกโย  โรงเรียน
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ย–  yong    มังกร
 มีพยัญชนะต้น  –ย–  gongryong  คงร  ไดโนเสาร์
 yu    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยู  uyu  อูยู  นมสด, นมวัว
 มีพยัญชนะต้น  –ยู  hyuji  ฮยูจี  กระดาษทิชชู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยุ–  yuk  ยุ  จำนวนหก
 มีพยัญชนะต้น  –ยุ–  gyul  คยุ  ส้มสีทอง

ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์[แก้]

เสียงพยัญชนะ[แก้]

อักษรโรมัน อักษรเกาหลี ตำแหน่ง
ต้นพยางค์แรก ต้นพยางค์อื่น ท้ายพยางค์
ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์ ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์ ใช้ ตัวอย่าง คำทับศัพท์
 p / b / p   บีอึบ  พ  paji  าจี
 (กางเกง)
 บ  haengbok  แฮ็ง
 (ความสุข)
 บ  pap  พั
 (ข้าว)
 ch’ / ch’ / t   ชีอึด  ช  ch’ŏnji  ช็อนจี
 (จักรวาล)
 ช  Ch’ungch’ŏng  ชุงช็อง
 (ชื่อจังหวัด)
 ด  kkot  ก
 (ดอกไม้)
 t / d / t   ทีกึด  ท  Taegu  แกู
 (ชื่อเมือง)
 ด  taedap  แทดั
 (ตอบ)
 ด  natgari  นัการี
 (กองฟาง)
 k / g / k   คีย็อก  ค  Kangwŏn  คังว็อน
 (ชื่อจังหวัด)
 ก  Hanguk  ฮันกุ
 (ประเทศเกาหลี)
 ก  koguk  โคกุ
 (บ้านเกิดเมืองนอน)
 h / h / –   ฮีอึด  ฮ  hobak  โบัก
 (ฟักทอง)
 ฮ  konghang  คงฮั
 (สนามบิน)
 ch / j / t   จีอึด  ช  chido  ชีโด
 (แผนที่)
 จ  chujŏnja  ชูจ็อน
 (กาน้ำ)
 ด  pit  พิ
 (หนี้, หนี้สิน)
 tch / tch / –   ซังจีอึด  จ  tchari  ารี
 (มูลค่า)
 จ  katcha  คา
 (ของปลอม)
 k’ / k’ / k   คีอึก  ค  k’al  คั
 (มีด)
 ค  mank’ŭm  มันคึ
 (เท่ากับ)
 ก  puŏk  พูอ็อ
 (ห้องครัว)
 – / kh[# 1] / –  ㄱㅎ คีย็อกฮีอึด
 ค  ch’ukha  ชู
 (ขอแสดงความยินดี)
 kk / kk / k   ซังกีย็อก  ก  kkangt’ong  กังทง
 (กระป๋อง)
 ก  ŏkkae  ออแ
 (ไหล่)
 ก  pak  พั
 (ข้างนอก)
 m / m / m   มีอึม  ม  maŭm  าอึม
 (จิตใจ)
 ม  nonmun  นนมุ
 (วิทยานิพนธ์)
 ม  kim  คิ
 (สาหร่ายทะเล)
 n / n / n   นีอึน  น  na  
 (ฉัน)
 น  nuna  นู
 (คำที่ผู้ชายใช้เรียกพี่สาว)
 น  Namdaemun  นัมแดมุ
 (ชื่อตลาด)
 – / – / ng   อีอึง
 ง  madang  มาดั
 (ลาน, สวน)
 p’ / p’ / p   พีอึบ  พ  p’al  พั
 (จำนวนแปด)
 พ  ap’ŭda  อาพือดา
 (เจ็บ, ปวด)
 บ  yŏpsaram  ย็อซารัม
 (คนข้าง ๆ)
 – / ph[# 2] / –  ㅂㅎ บีอึบฮีอึด
 พ  iphak  อีพั
 (การสอบเข้า)
 pp / pp / –   ซังบีอึบ  ป  ppallae  ปัลแล
 (ซักผ้า)
 ป  ippal  อีปั
 (ฟัน)
 r / r, l / l   รีอึล  ร  ramyŏn  ามย็อน
 (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป)
 ร  haru  ฮารู
 (วัน)
 ล  mal  มั
 (ม้า)
 ล  Chŏlla  ช็อล
 (ชื่อจังหวัด)
 s / s / t   ชีอด  ซ  sada  าดา
 (ซื้อ)
 ซ  saengsan  แซ็งซั
 (การผลิต)
 ด  sutsso  ซุโซ
 (วัวตัวผู้)
 s / s / – (เมื่อตาม
 ด้วยเสียงสระอีหรือ
 สระประสมวี)
  ชีอด  ช  sijang  ชีจัง
 (ตลาด)
 ช  tosi  โทชี
 (เมือง)
 ss / ss / t   ซังชีอด  ซ  ssal  ซั
 (ข้าวสาร)
 ซ  pulssuk  พุลซุ
 (กะทันหัน)
 ด  ssaetta  แซ็ตา
 (เหลือเฟือ)
 t’ / t’ / t   ทีอึด  ท  T’aebaek  แแบ็ก
 (ชื่อภูเขา)
 ท  kit’a  คี
 (อื่น ๆ)
 ด  Hanbat  ฮันบั
 (ชื่อมหาวิทยาลัย)
 – / th / –  ㄷㅎ ทีกึดฮีอึด
 ท  mathyŏng  มาย็อง
 (พี่ชายคนโต)
 tt / tt / –   ซังทีกึด  ต  ttukkŏng  ตูก็อง
 (ฝา)
 ต  hŏritti  ฮอรีตี
 (เข็มขัด)
หมายเหตุ
  1. บางที่ใช้ k’ เช่น ch’ukha = ชูา (ขอแสดงความยินดี) เขียนเป็น ch’uk’a
  2. บางที่ใช้ p’ เช่น iphak = อีพัก (การสอบเข้า) เขียนเป็น ip’ak

เสียงสระ[แก้]

สระเดี่ยว[แก้]
อักษรโรมัน อักษรเกาหลี เงื่อนไข ใช้ ตัวอย่าง
คำ  คำทับศัพท์  ความหมาย
 a    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อา  ai  อาอี  เด็ก
 มีพยัญชนะต้น  –า  nara  น  ประเทศ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อั–  ap  อั  ข้างหน้า
 มีพยัญชนะต้น  –ั  pap  พั  ข้าว
 ae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แอ  aein  แออิน  คู่รัก
 มีพยัญชนะต้น  แ–  kae    สุนัข
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แอ็–  aengmusae  แอ็งมูแซ  นกแก้ว
 มีพยัญชนะต้น  แ–็  naemsae  แน็มแซ  กลิ่น
 e    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เอ  e  เอ  ที่ (คำชี้สถานที่)
 มีพยัญชนะต้น  เ–  nemo  นโม  สี่เหลี่ยม
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เอ็–  enganhada  เอ็นกันฮาดา  พอประมาณ
 มีพยัญชนะต้น  เ–็  sem  เซ็  การคำนวณ
 i    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อี  ima  อีมา  หน้าผาก
 มีพยัญชนะต้น  –ี  si  ชี  โมง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อิ–  Yongin  ยงอิ  ชื่อเมือง
 มีพยัญชนะต้น  –ิ  sil  ชิ  ด้าย
 o    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  โอ  o  โอ  จำนวนห้า
 มีพยัญชนะต้น  โ–  p’odo    องุ่น
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อ–  ot    เสื้อผ้า
 มีพยัญชนะต้น  โ–ะ (ลดรูป)  ton  ทน  เงินตรา
 ŏ    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ออ  ŏmŏni  ออมอนี  แม่
 มีพยัญชนะต้น  –อ  sŏda  ซดา  ยืน
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อ็อ–  ŏnni  อ็อนนี  คำที่ผู้หญิงใช้เรียกพี่สาว
 มีพยัญชนะต้น  –็อ  tŏrŏpta  ทอร็อบทา  สกปรก
 u    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อู  ugi  อูกี  ฤดูฝน
 มีพยัญชนะต้น  –ู  tubu  ทูบู  เต้าหู้
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อุ–  undong  อุนดง  การออกกำลังกาย
 มีพยัญชนะต้น  –ุ  sul  ซุ  เหล้า
 ŭ    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อือ  ŭro  อือโร  ด้วย, โดย, ไปทาง
 มีพยัญชนะต้น  –ือ  sŭsŭro  ซือซือโร  ด้วยตนเอง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  อึ–  maŭm  มาอึ  จิตใจ
 มีพยัญชนะต้น  –ึ  irŭm  อีรึ  ชื่อ
สระประสมสองส่วน[แก้]
อักษรโรมัน อักษรเกาหลี เงื่อนไข ใช้ ตัวอย่าง
คำ  คำทับศัพท์  ความหมาย
 oe    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว  oeguk  เวกุก  ต่างประเทศ
 มีพยัญชนะต้น  –เว  koeroum  คเวโรอุม  ความทุกข์
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว็–  oenson  เว็นซน  มือซ้าย
 มีพยัญชนะต้น  –เว็–  hoengdan  ฮเว็งดัน  การข้าม
 ŭi    เมื่อไม่มีพยัญชนะต้น  เป็นพยางค์แรก  อึย  ŭisa  อึยซา  หมอ
 ไม่ใช่พยางค์แรก  อี, อึย  Yŏŭido  ยออีโด, ยออึยโด  ชื่อสถานที่
 เมื่อมีพยัญชนะต้น  –ี  hŭin saek  ฮีนแซ็ก  สีขาว
 wa    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วา  wa  วา  มา
 มีพยัญชนะต้น  –วา  kwaja  ควาจา  ขนม
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วั–  wang  วั  กษัตริย์
 มีพยัญชนะต้น  –วั–  Kwangju  ควังจู  ชื่อเมือง
 wae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แว  wae  แว  ทำไม
 มีพยัญชนะต้น  –แว  twaeji  ทแวจี  หมู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แว็–  waengwaeng  แว็แว็ง  เสียงดังหึ่ง ๆ อย่างผึ้งบิน
 มีพยัญชนะต้น  –แว็–  kkwaengnamu  กแว็งนามู  ชื่อต้นไม้
 we    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว  weit’ŏ  เวอีทอ  พนักงานเสิร์ฟ
 มีพยัญชนะต้น  –เว  kwebŏm  คเวบ็อม  ตัวอย่าง, แบบอย่าง
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เว็–  wennil  เว็นนิล  อะไร, เพราะอะไร
 wi    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วี  wi  วี  ข้างบน
 มีพยัญชนะต้น  –วี  kwi  ควี  หู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วิ–  witsaram  วิดซารัม  ผู้ใหญ่
 มีพยัญชนะต้น  –วิ–  swin  ชวิ  จำนวนห้าสิบ
 wŏ    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  วอ  arŭmdawŏ!  อารึมดาวอ  สวยจังเลย!
 มีพยัญชนะต้น  –วอ  chwŏ  ชวอ  ขอ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ว็อ–  wŏllae  ว็อลแล  ดั้งเดิม
 มีพยัญชนะต้น  –ว็อ–  yŏgwŏn  ยอกว็อ  หนังสือเดินทาง
 ya    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยา  yagu  ยากู  กีฬาเบสบอล
 มีพยัญชนะต้น  –ยา  ch’yawŏ  ชยาวอ  การอาบน้ำ
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยั–  yak  ยั  ยา
 มีพยัญชนะต้น  –ยั–  talgyal  ทัลกยั  ไข่ไก่
 yae    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  แย  yaegi  แยกี  เรื่องราว
 มีพยัญชนะต้น  –แย  kyae  คแย  เด็กคนนั้น
 ye    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เย  yejŏl  เยจ็อล  มารยาท
 มีพยัญชนะต้น  –เย  sigye  ชีกเย  นาฬิกา
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  เย็–  yennal  เย็นนัล  สมัยก่อน
 มีพยัญชนะต้น  –เย็–  kyetnal  คเย็ดนัล  วันส่งแชร์
 yo    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  โย  yori  โยรี  อาหาร, การทำอาหาร
 มีพยัญชนะต้น  –โย  hakgyo  ฮักกโย  โรงเรียน
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ย–  yong    มังกร
 มีพยัญชนะต้น  –ย–  kongryong  คงร  ไดโนเสาร์
 yŏ    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยอ  yŏhaeng  ยอแฮ็ง  การท่องเที่ยว
 มีพยัญชนะต้น  –ยอ  p’yŏ  พยอ  รวงข้าว
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ย็อ–  yŏnmal  ย็อนมัล  ปลายปี
 มีพยัญชนะต้น  –ย็อ–  ramyŏn  รามย็อ  บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
 yu    เมื่อเป็นพยางค์เปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยู  uyu  อูยู  นมสด, นมวัว
 มีพยัญชนะต้น  –ยู  hyuji  ฮยูจี  กระดาษทิชชู
 เมื่อเป็นพยางค์ปิด  ไม่มีพยัญชนะต้น  ยุ–  yuk  ยุ  จำนวนหก
 มีพยัญชนะต้น  –ยุ–  kyul  คยุ  ส้มสีทอง

วิธีการถอดเสียงภาษาไทยจากโรมะจิ[แก้]

การแยกพยางค์[แก้]

แยกพยางค์ก่อน เพราะคำในภาษาญี่ปุ่นประกอบด้วย สระ และ/หรือพยางค์ต้น โดยไม่มีพยางค์ท้ายทุกคำเหมือนภาษาไทยยกเว้น ตัว ん (ออกเสียง ง,น,ม) โดยสระที่อยู่ติดแยกคำอ่าน ยกเว้น aa, ei, ou ถือเป็นพยางค์เดียว

  • chijimu แยก chi-ji-mu อ่าน ชิจิมุ
  • aoi แยก a-o-i อ่าน อะโอะอิ
  • nihongo แยก ni-hon-go อ่าน นิฮงโงะ
  • tōri แยก tō-ri อ่าน โทริ
  • fujieda แยก fu-ji-e-da อ่าน ฟุจิเอะดะ
  • sensei แยก sen-sei อ่าน เซ็นเซ
  • sai, kai, rai, tai หากเขียนด้วยอักษรคะนะและอยู่ในคำเดียวกันมักอ่านร่วมเป็นพยางค์เดียว แต่หากมาจากคันจิคนละตัวมักอ่านแยกสองพยางค์
    • 堺市 เป็นชื่อเมืองในจังหวัดโอซะกะ คันจิ 堺 ออกเสียง さかい (ซะไก) ส่วน 市 ออกเสียง し (ชิ) กรณีนี้จึงอ่านรวม kai เป็นพยางค์เดียว (ดู ซะไก)
    • 坂井 เป็นนามสกุล คันจิ 坂 ออกเสียง さか (ซะกะ) ส่วนคันจิ 井 ออกเสียง い (อิ) กรณีนี้จึงอ่านแยกว่า ซะกะอิ (ดู อิซุมิ ซะกะอิ) เช่นเดียวกับ 中井 อ่านว่า นะกะอิ
    • 侍 ออกเสียง さむらい (ซะมุไร) เนื่องจากเป็นคันจิตัวเดียวจึงอ่านออกเสียงรวม rai เป็นพยางค์เดียว (ดู ซะมุไร)
    • イタイイタイ ออกเสียง イタイイタイ (อิไตอิไต) เนื่องจากเป็นเสียงโอดโอย เขียนด้วยคะตะกะนะ จึงอ่าน tai รวมเป็นพยางค์เดียว (ดู โรคอิไตอิไต)

ตารางเทียบเสียงสระภาษาญี่ปุ่น[แก้]

โรมะจิ อักษรญี่ปุ่น การทับศัพท์ ตัวอย่าง หมายเหตุ
a อะ, –ั yama = ยะมะ, sakura = ซะกุระ, gakkoo = กักโก, san = ซัง  
aa, ā ああ อา okāsan = โอะกาซัง, obāsan = โอะบาซัง  
e เอะ, เ–็ ike = อิเกะ, fune = ฟุเนะ, denwa = เด็งวะ, sensei = เซ็นเซ  
ee, ē, ei ええ, えい เอ sensei = เซ็นเซ, onēsan = โอะเนซัง  
i อิ kin = คิง, kaki = คะกิ, hashi = ฮะชิ  
ii, ī いい อี oniisan, = โอะนีซัง, oishii, = โอะอิชี  
o โอะ, โอะลดรูป ocha = โอะชะ, kome = โคะเมะ, Nippon = นิปปง, konnichiwa = คนนิชิวะ  
oo, ō, ou おう, おお โอ otōsan = โอะโตซัง, sayōnara = ซะโยนะระ  
u อุ shinbun = ชิมบุง, isu = อิซุ, Suzuki = ซุซุกิ  
uu, ū うう อู jūyō = จูโย, jūsho = จูโชะ  
ya เอียะ kyaku = เคียะกุ, hyaku = เฮียะกุ *
yaa, yā ゃあ เอีย nn = เนียเนีย *
yo เอียว ryokō = เรียวโก *
yoo, yō ょう, ょお เอียว bin = เบียวอิง, ryōri = เรียวริ *
yu อิว kyu = คิว *
yuu, yū ゅう อีว kkō = คีวโก *
* "y" เป็นเสียงกึ่งสระเมื่อตามหลังพยัญชนะจึงกำหนดให้เป็นเสียงสระเพื่อความสะดวกในการออกเสียง

ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาญี่ปุ่น[แก้]

โรมะจิ อักษรญี่ปุ่น การทับศัพท์ ตัวอย่าง หมายเหตุ
b ば び ぶ べ ぼ obi = โอะบิ
konbanwa = คมบังวะ
 
ch ち (+ゃ ゅ ょ) chiisai = ชีซะอิ
konnichiwa = คนนิชิวะ
chi ในบางแห่งอาจเขียนเป็น ti โดยออกเสียงเหมือน chi
d だ で ど denwa = เด็งวะ
Yamada = ยะมะดะ
 
f Fujisan = ฟุจิซัง
fune = ฟุเนะ
 
g が ぎ ぐ げ ご ก (พยางค์แรก) ginkō = กิงโก  
ง (พยางค์อื่น) arigatō = อะริงะโต  
h は ひ へ ほ hashi = ฮะชิ  
j じ ぢ (+ゃ ゅ ょ) kaji = คะจิ ปัจจุบัน じ และ ぢ ออกเสียงเหมือนกัน, ji ในบางแห่งอาจเขียนเป็น zi
k か き く け こ ค (พยางค์แรก) kao = คะโอะ  
ก (พยางค์อื่น) niku = นิกุ  
-kk っ (+か き く け こ) กก gakkō = กักโก  
m ま み む め も mado = มะโดะ  
n な に ぬ ね の Nagoya = นะโงะยะ  
-n ง, น, ม   ดูหมายเหตุท้ายตาราง
p ぱ ぴ ぷ ぺ ぽ พ (พยางค์แรก) pen = เพ็ง  
ป (พยางค์อื่น) tenpura = เท็มปุระ  
-pp っ (+ぱ ぴ ぷ ぺ ぽ) ปป Nippon = นิปปง  
r ら り る れ ろ ringo = ริงโงะ  
s さ す せ そ sakana = ซะกะนะ  
sh し (+ゃ ゅ ょ) sashimi = ซะชิมิ shi ในบางแห่งอาจจะเขียนเป็น si โดยออกเสียงเหมือน shi
-ss っ (+さ す せ そ) สซ kissaten = คิสซะเต็ง  
-ssh っ (+ し (+ゃ ゅ ょ)) สช zasshi = ซัสชิ  
t た て と ท (พยางค์แรก) te = เทะ  
ต (พยางค์อื่น) migite = มิงิเตะ  
-tch, -cch っ (+ち (+ゃ ゅ ょ)) ตช itchi = อิตชิ  
tsu สึ tsukue = สึกุเอะ  
-tt っ (+た て と) ตต komitto = โคะมิตโตะ  
-ttsu っつ ตสึ mittsu = มิตสึ
w わ は watashi = วะตะชิ は สำหรับคำเชื่อมประโยคหรือท้ายประโยค ออกเสียง วะ นอกนั้นออกเสียง ฮะ
y や ゆ よ yama = ยะมะ  
z ざ ず ぜ ぞ づ mizu = มิซุ  

สำหรับ n ที่เป็นตัวสะกด[แก้]

n เมื่อเป็นตัวสะกดจะออกเสียงได้หลายอย่าง จึงกำหนดไว้ดังนี้

  1. เมื่อตามด้วยพยัญชนะ b m และ p ให้ถอดเป็น เช่น
    • shinbun = ชิมบุง
    • sanmai = ซัมไม
    • enpitsu = เอ็มปิสึ
  2. เมื่อตามด้วยพยัญชนะ g h k และ w ให้ถอดเป็น เช่น
    • ringo = ริงโงะ
    • ginkō = กิงโก
    • denwa = เด็งวะ
  3. เมื่ออยู่ท้ายสุดของคำ ให้ถอดเป็น เช่น
    • hon = ฮง
    • san = ซัง
  4. ในกรณีอื่น ๆ นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1, 2 และ 3 ให้ถอดเป็น เช่น
    • gunjin = กุนจิง
    • hontō = ฮนโต
    • undō = อุนโด
    • chichimenchō= ชิชิเม็นโช
    • densha = เด็นชะ
    • onna = อนนะ
    • kanri = คันริ
    • dansei = ดันเซ

ข้อยกเว้น[แก้]

  • วิสามายนาม วิสามายนามในภาษาญี่ปุ่น เมื่อเจ้าตัว, เจ้าของ, ตัวแทนอย่างเป็นทางการ, ผู้ทรงลิขสิทธิ์ หรือองค์กรในภูมิภาคกำหนดหรือใช้อย่างเป็นทางการในประเทศไทยเช่นไร ก็ควรใช้เช่นนั้น แม้ไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ เช่น ชื่อบุคคล, ตัวละคร, บริษัท, ห้างร้าน, หน่วยงาน, สิ่งประดิษฐ์, วรรณกรรม, สิ่งบันเทิง, กีฬา ฯลฯ เป็นต้นว่า
    • 三菱 (Mitsubishi, ตามหลักต้องว่า "มิสึบิชิ") แต่มีชื่ออย่างเป็นทางการ (ชื่อบริษัทยานยนต์) ในประเทศไทยว่า "มิตซูบิชิ" ก็ให้ใช้อย่างหลังนี้ (ดู มิตซูบิชิ)
  • คำที่ทับศัพท์จากภาษาอื่น คำในภาษาญี่ปุ่นที่ทับศัพท์จากภาษาอื่นมักเขียนด้วยคะตะกะนะ อาจให้ทับศัพท์ตามภาษาต้นทาง เช่น
    • カノン (Kanon, ตามหลักต้องว่า "คะนง") ทับศัพท์จากคำภาษาอังกฤษว่า "Kanon", ก็ให้ทับศัพท์ตามคำอังกฤษนั้น และโดยวิธีทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เป็น "แคนอน", แต่เนื่องจากเป็นชื่ออะนิเมะ (วิสามานยนาม) ซึ่งในประเทศไทยใช้อย่างเป็นทางการว่า "คาน่อน" จึงให้เขียนชื่ออะนิเมะนี้ว่า "คาน่อน" (ดู คาน่อน)
    • チャオリンシェン (Chao Rinshen, ตามหลักต้องว่า "เชา รินเช็ง") ทับศัพท์จากคำภาษาจีนว่า "超鈴音" (Chāo Língchén), ก็ให้ทับศัพท์ตามคำจีนนั้น และโดยวิธีทับศัพท์ภาษาจีน เป็น "เชา หลิงเฉิน", แต่เนื่องจากเป็นชื่อตัวละคร (วิสามานยนาม) ซึ่งในประเทศไทยใช้อย่างเป็นทางการว่า "เจ้า หลินเฉิง" จึงให้เขียนชื่อตัวละครนี้ว่า "เจ้า หลินเฉิง" (ดู เจ้า หลินเฉิง)
    • วิดีโอเกมที่ผลิตโดยญี่ปุ่นแต่อิงจากภาษาอื่น หรืออาจใช้ตามความนิยมของนักเล่นเกมส่วนใหญ่ โดยอาจใช้อ้างอิงหรือมีการอภิปรายประกอบ
  • คำที่นิยมเขียนเป็นอื่น คำในภาษาญี่ปุ่น ที่ในประเทศไทยนิยมเขียนแบบอื่นซึ่งไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ ก็อาจใช้ต่อไปตามนั้น เช่น
    • 将軍 (shōgun, ตามหลักต้องว่า "โชงุง") แต่นิยมว่า "โชกุน" (ดู โชกุน)
    • 餅 (mochi, ตามหลักต้องว่า "โมะชิ") แต่นิยมว่า "โมจิ" (ดู โมจิ)
    • ちゃん (chan, ตามหลักต้องว่า "ชัง") อันเป็นวิภัตติอย่างหนึ่งในภาษาญี่ปุ่น มักใช้เป็นสร้อยชื่อ และในประเทศไทยนิยมว่า "จัง"
  • คำที่ราชบัณฑิตยสถานรับรอง คำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติเอง ให้ใช้ตามนั้น แม้ไม่ต้องตามวิธีทับศัพท์นี้ก็ตาม เช่น
    • 東京 (Tōkyō, แยกพยางค์เป็น Tō-kyō, และตามหลักต้องว่า "โทเกียว") ราชบัณฑิตยสถานให้ว่า "โตเกียว" โดยชี้แจงว่า ก่อนประกาศใช้หลักเกณฑ์นี้ มีการทับศัพท์ว่า "โตเกียว" แพร่หลายอยู่แล้ว
    • 津波 (tsunami, ตามหลักต้องว่า "สึนะมิ") ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่า "สึนามิ" ตามความนิยม