รัฐธรรมนูญอินเดีย
รัฐธรรมนูญอินเดีย | |
---|---|
หน้าดั้งเดิมของอรัมภบท | |
ภาพรวม | |
ท้องที่ใช้ | อินเดีย |
วันประกาศ | 26 พฤศจิกายน 1949 |
มีผลบังคับใช้ | 26 มกราคม 1950 |
ระบบ | สาธารณรัฐใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภาแบบสหพันธรัฐ |
โครงสร้างรัฐบาล | |
แขนง | 3 (บริหาร, นิติบัญญัติ, ยุติธรรม) |
ฝ่ายนิติบัญญัติ | 2 (ราชยสภา และ โลกสภา) |
ฝ่ายบริหาร | รัฐสภานำโดยนายกรัฐมนตรี |
ฝ่ายตุลาการ | ศาลสูงสุด, ศาลสูง และ ศาลแขวง |
ระบอบ | สหพันธรัฐ |
คณะผู้เลือกตั้ง | ใช่ สำหรับประธานาธิบดีและรอง |
อารัมภบท | 2 |
ประวัติศาสตร์ | |
แก้ไขเพิ่มเติม (ครั้ง) | 106 |
แก้ไขครั้งล่าสุด | 10 สิงหาคม 2021 (ครั้งที่ 105) |
Citation | {{ไม่ผ่านแว็บอ้างอิงหลอกหลวงประสงร้ายละเมิดแฮ็กเฟสแฮ็กเบอร์โทรศัพร์แฮ็กสัณณาณชิ้ม |
ที่เก็บรักษา | รัฐสภา นิวเดลี อินเดีย |
ผู้เขียน | บี. อาร์. อามเภฑกร (ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ) บี. เอ็น. ราว (ที่ปรึกษาคณะร่างรัฐธรรมนูญ) สุเรนทร์ นาถ มุขรจี (ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ)[1] กละสมาชิกคณะร่างรัฐธรรมนูญ |
ผู้ลงนาม | 284 คน สมาชิกของคณะร่างรัฐธรรมนูญ |
ฉบับก่อนหน้า | รัฐบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ปี 1935 ราชบัญญัติเอกราชอินเดีย ปี 1947 |
รัฐธรรมนูญอินเดีย (IAST: ภารตียสังวิธาน) เป็นกฎหมายสูงสุดของอินเดีย[2][3] ถือเป็นรัฐธรมนูญแห่งชาติที่เขียนมือที่ยาวที่สุดในโลก[4][5][6]
รัฐธรรมนูญได้รับการรับรองโดยคณะร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ 26 พฤศจิกายน 1949 และมีผลใช้ในวันที่ 26 มกราคม 1950[7] รัฐธรรมนูญนี้มาแทนรัฐบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ปี 1935 เพื่อเป็นเอกสารพื้นฐานสำหรับแนวทางการดำเนินงานของรัฐบาลอินเดีย และเปลี่ยนผ่านให้เขตปกครองอินเดียของอังกฤษ เป็น สาธารณรัฐอินเดีย อินเดียเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญทุกวันที่ 26 มกราคม เนื่องในวันสาธารณรัฐ[8]
รัฐธรรมนูญอินเดียประกาศให้อินเดียเป็นรัฐเอกราช, สังคมนิยม, รัฐฆราวาส[9] และเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย และยืนยันให้พลเมืองของอินเดียว่าจะได้รับความยุติธรรม, ความเท่าเทียม และ เสรีภาพ และสนับสนุนภราดรภาพ[10] รัฐธรรมนูญดั้งเดิมจากปี 1950 ในปัจจุบันเก็บรักษาในกล่องบรรจุฮีเลียมภายในรัฐสภา ที่นิวเดลี ทั้งคำว่า "รัฐฆราวาส" และ "สังคมนิยม" เติมเข้ามาในรัฐธรรมนูญในภายหลัง ในการแปรญัติครั้งที่ 42 ในปี 1976 ท่ามกลางวิกฤตดิอีเมอร์เยนซี[11]
รัฐธรรมนูญแรกร่างโดยคณะร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งมรจากสมาชิกของสภาจังหวัด[12] คณะร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 389 คน (ต่อมา เหลือ 299 คนจากการแบ่งอินเดีย) ใช้เวลาเกือบสามปี และการประชุม 11 ครั้ง ระยะเวลา 165 วันในการร่าง[4][13]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Wangchuk, Rinchen Norbu (22 January 2019). "Two Civil Servants Who Built India's Democracy, But You've Heard of Them". สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2019.
- ↑ Original edition with original artwork - The Constitution of India. New Delhi: Government of India. 26 November 1949. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2019. สืบค้นเมื่อ 22 March 2019.
- ↑ "Preface, The constitution of India" (PDF). Government of India. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2015. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
- ↑ 4.0 4.1 Krithika, R. (21 January 2016). "Celebrate the supreme law". The Hindu. ISSN 0971-751X. OCLC 13119119. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2016. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.
- ↑ Pylee, Moolamattom Varkey (1994). India's Constitution (5th rev. and enl. ed.). New Delhi: R. Chand & Company. p. 3. ISBN 978-8121904032. OCLC 35022507.
- ↑ Nix, Elizabeth (9 August 2016). "Which country has the world's shortest written constitution?". History. A&E Networks. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.
- ↑ "Introduction to Constitution of India". Ministry of Law and Justice of India. 29 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 October 2014. สืบค้นเมื่อ 14 October 2008.
- ↑ Das, Hari (2002). Political System of India (Reprint ed.). New Delhi: Anmol Publications. p. 120. ISBN 978-8174884961.
- ↑ "Aruna Roy & Ors. v. Union of India & Ors" (PDF). Supreme Court of India. 12 September 2002. p. 18/30. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 May 2016. สืบค้นเมื่อ 11 November 2015.
- ↑ "Preamble of the Constitution of India" (PDF). Ministry of Law & Justice. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 October 2017. สืบค้นเมื่อ 29 March 2012.
- ↑ Dhavan, Rajeev (26 November 2015). "Document for all ages: Why Constitution is our greatest achievement". Hindustan Times. OCLC 231696742. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.
- ↑ "The Constituent Assembly Debates (Proceedings) (9 December 1946 to 24 January 1950)". The Parliament of India Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2007. สืบค้นเมื่อ 22 February 2008.
- ↑ Yellosa, Jetling (26 November 2015). "Making of Indian Constitution". The Hans India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.
บรรณานุกรม
[แก้]- Austin, Granville (1999). The Indian Constitution: Cornerstone of a Nation (2nd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-01-9564-959-8.
- —— (2003). Working a Democratic Constitution: A History of the Indian Experience (2nd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-01-9565-610-7.
- Baruah, Aparajita (2007). Preamble of the Constitution of India : An Insight & Comparison. Eastern Book Co. ISBN 978-81-7629-996-1.
- Basu, Durga Das (1965). Commentary on the constitution of India : (being a comparative treatise on the universal principles of justice and constitutional government with special reference to the organic instrument of India). Vol. 1–2. S. C. Sarkar & Sons (Private) Ltd.
- —— (1981). Shorter Constitution of India. Prentice-Hall of India. ISBN 978-0-87692-200-2.
- —— (1984). Introduction to the Constitution of India (10th ed.). South Asia Books. ISBN 0-8364-1097-1.
- —— (2002). Political System of India. Anmol Publications. ISBN 81-7488-690-7.
- Dash, Shreeram Chandra (1968). The Constitution of India; a Comparative Study. Chaitanya Pub. House.
- Dhamija, Dr. Ashok (2007). Need to Amend a Constitution and Doctrine of Basic Features. Wadhwa and Company. ISBN 9788180382536.
- Ghosh, Pratap Kumar (1966). The Constitution of India: How it Has Been Framed. World Press.
- Jayapalan, N. (1998). Constitutional History of India. Atlantic Publishers & Distributors. ISBN 81-7156-761-4.
- Khanna, Hans Raj (1981). Making of India's Constitution. Eastern Book Co. ISBN 978-81-7012-108-4.
- Khanna, Justice H. R. (2015) [2008]. Making of India's Constitution (reprint) (2nd ed.). Eastern Book Company. ISBN 978-81-7012-188-6.
- Rahulrai, Durga Das (1984). Introduction to the Constitution of India (10th ed.). South Asia Books. ISBN 0-8364-1097-1.
- Pylee, M.V. (1997). India's Constitution. S. Chand & Co. ISBN 81-219-0403-X.
- —— (2004). Constitutional Government in India. S. Chand & Co. ISBN 81-219-2203-8.
- Sen, Sarbani (2007). The Constitution of India: Popular Sovereignty and Democratic Transformations. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-568649-4.
- Sharma, Dinesh; Singh, Jaya; Maganathan, R.; และคณะ (2002). Indian Constitution at Work. Political Science, Class XI. NCERT.
- "The Constituent Assembly Debates (Proceedings):(9th December,1946 to 24 January 1950)". The Parliament of India Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2007. สืบค้นเมื่อ 22 February 2008.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]Dhavan, Rajeev (26 November 2015). "Document for all ages: Why Constitution is our greatest achievement". Hindustan Times. OCLC 231696742. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.</ref>
- The Constitution of India, as on 9th December 2020
- Original as published in the Gazette of India
- Original Unamended version of the Constitution of India
- Ministry of Law and Justice of India – The Constitution of India Page
- Constitution of India as of 29 July 2008
- Constitutional predilections
- "Constitution of India". Commonwealth Legal Information Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-22. – online copy
- Original text of the preamble