งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
สถานที่ ฮอลลีวูด แอนด์ ไฮแลนด์ เซ็นเตอร์
ฮอลลีวู้ด
พิธีกร บิลลี่ คริสตัล
ผู้กำกับงาน ไบรอัน เกรเซอร์
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
เข้าชิงมากที่สุด ฮิวโก้ (11)
สถานีโทรทัศน์ที่แพร่ภาพออกอากาศ
ช่อง สหรัฐ ABC
ไทย ทรูอินไซด์,ฟ๊อกซ์ มูวี่ส์ พรีเมียม
 < ครั้งที่ 83 รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี พ.ศ. 2554 จัดขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ ฮอลลีวูด แอนด์ ไฮแลนด์ เซ็นเตอร์ (ชื่อเดิม โกดักเธียเตอร์) ฮอลลีวูด ลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย จะออกอากาศทางโทรทัศน์ช่อง ABC และถ่ายทอดสดไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย โดยบิลลี่ คริสตัลเป็นพิธีกรของงาน

ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล[แก้]

รายชื่อผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล เรียงชื่อตามลำดับอักษรภาษาอังกฤษ สำหรับภาพยนตร์ที่มีการกำหนดชื่อภาษาไทยจะมีการวงเล็บไว้ข้างท้ายชื่อ

ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
บทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม
ภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม
ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม ภาพยนตร์สารคดีสั้นยอดเยี่ยม
ภาพยนตร์เหตุการณ์สั้นยอดเยี่ยม ภาพยนตร์แอนิเมชันสั้นยอดเยี่ยม
  • The Shore – Terry George and Oorlagh George
    • Pentecost – Peter McDonald and Eimear O'Kane
    • Raju – Max Zähle and Stefan Gieren
    • Time Freak – Andrew Bowler and Gigi Causey
    • Tuba Atlantic – Hallvar Witzø
ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
ลำดับเสียงยอดเยี่ยม บันทึกเสียงยอดเยี่ยม
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม กำกับภาพยอดเยี่ยม
แต่งหน้ายอดเยี่ยม ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
ตัดต่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เทคนิคสมจริงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์เกียรติยศ[แก้]

รางวัลมนุษยธรรม ฌีน เฮอร์โชลต์[แก้]

ผู้นำเสนอการแสดงและรางวัล[แก้]

เรียงตามลำดับการนำเสนอ
ชื่อ หน้าที่
Tom Kane
Melissa Disney
เสียงบรรยาย
Morgan Freeman นำเสนอวิดีโอเปิดงาน
Tom Hanks รางวัลกำกับศิลป์และกำกับภาพ
Cameron Diaz
Jennifer Lopez
รางวัลเครื่องแต่งกายและแต่งหน้า
Sandra Bullock รางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศ
Christian Bale รางวัลนักแสดงสมทบหญิง
Bradley Cooper
Tina Fey[1]
รางวัลลำดับภาพ บันทึกเสียง และลำดับเสียง
Kermit the Frog
Miss Piggy[2]
นำเสนอการแสดงโดย Cirque du Soleil
Gwyneth Paltrow
Robert Downey Jr.
รางวัลภาพยนตร์สารคดี
Chris Rock รางวัลภาพยนตร์แอนิเมชัน
Ben Stiller
Emma Stone
รางวัลเทคนิคสมจริง
Melissa Leo รางวัลนักแสดงสมทบชาย
Tom Sherak (AMPAS President) ประธานสถาบันศิลปะวิทยาภาพยนตร์ฯ
Penélope Cruz
Owen Wilson
รางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์
Will Ferrell
Zach Galifianakis[3]
รางวัลเพลงนำภาพยนตร์
Angelina Jolie รางวัลบทภาพยนตร์ดั้งเดิมและบทภาพยนตร์ดัดแปลง
Milla Jovovich[4] รางวัลออสการ์พิเศษด้านเทคนิคภาพยนตร์
Rose Byrne
Ellie Kemper
Melissa McCarthy
Wendi McLendon-Covey
Maya Rudolph
Kristen Wiig
รางวัลหมวดภาพยนตร์สั้น (เหตุการณ์,สารคดี,แอนิเมชัน)
Michael Douglas รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์
Meryl Streep รางวัลออสการ์เกียรติยศและรางวัลมนุษยธรรม ฌีน เฮอร์โชลต์
Billy Crystal (Host) นำเสนอช่วงระลึกบุคคลที่เสียชีวิตในรอบปี
Natalie Portman[5] รางวัลนักแสดงนำชาย
Colin Firth รางวัลนักแสดงนำหญิง
Tom Cruise รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

อ้างอิง[แก้]