งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82
หน้าตา
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82 | ||||
---|---|---|---|---|
วันที่ | 7 มีนาคม ค.ศ. 2010 | |||
สถานที่ | โกดักเธียเตอร์ ฮอลลีวู้ด | |||
พิธีกร | สตีฟ มาร์ติน อเล็ก บอลด์วิน | |||
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ | ||||
ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม | The Hurt Locker | |||
ได้รางวัลมากที่สุด | The Hurt Locker (6) | |||
เข้าชิงมากที่สุด | Avatar (9) The Hurt Locker (9) | |||
สถานีโทรทัศน์ที่แพร่ภาพออกอากาศ | ||||
ช่อง | ABC ทรูอินไซด์ | |||
|
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปีค.ศ. 2009 จัดขึ้นในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2010 ในโกดักเธียเตอร์ ฮอลีวูด แคลิฟอเนีย และจะออกอากาศทางโทรทัศน์ช่อง ABC และถ่ายทอดสดไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย (ถ่ายทอดสดทางช่อง ทรูอินไซด์) เหตุที่งานครั้งนี้จัดช้ากว่าปีที่ผ่านมาที่จัดในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ (ตามเวลาท้องถิ่น) เนื่องจากมีการจัดการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูหนาว ที่ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 12-28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 [ต้องการอ้างอิง]
กำหนดการ
[แก้]ประกาศเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2009[1]
วันที่ | กำหนดการ |
---|---|
1 ธันวาคม ค.ศ. 2009 | ส่ง Screen Credits forms วันสุดท้าย |
28 ธันวาคม ค.ศ. 2009 | ส่งใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้เข้าชิงรางวัลให้กับสมาชิก |
23 มกราคม ค.ศ. 2010 | ปิดรับใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้เข้าชิงรางวัลที่เวลา 17 นาฬิกา PST (7 นาฬิกา ตามเวลาในประเทศไทย) |
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 | ประกาศผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ เวลา 5 นาฬิกา 38 นาที PST (20 นาฬิกา 38 นาที ตามเวลาในประเทศไทย) ที่โรงละครซามูเอล โกลด์วิน |
10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 | ส่งใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้ได้รับรางวัลให้กับสมาชิก |
15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 | งานเลี้ยงอาหารกลางวันสำหรับผู้ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์ |
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 | งานประกาศผลรางวัลความสำเร็จทางเทคนิคและวิทยาศาสตร์ |
2 มีนาคม ค.ศ. 2010 | ปิดรับใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้ได้รับรางวัล ที่เวลา 17 นาฬิกา PST (7 นาฬิกา ตามเวลาในประเทศไทย) |
7 มีนาคม ค.ศ. 2010 | งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82 |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล
[แก้]รางวัลสำคัญ
[แก้]รางวัลอื่นๆ
[แก้]ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม | ภาพยนตร์สารคดีขนาดสั้นยอดเยี่ยม |
---|---|
|
|
ภาพยนตร์เหตุการณ์สั้นยอดเยี่ยม | ภาพยนตร์แอนิเมชันสั้นยอดเยี่ยม |
|
|
ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม | เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม |
|
|
ลำดับเสียงยอดเยี่ยม | บันทึกเสียงยอดเยี่ยม |
|
|
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม | กำกับภาพยอดเยี่ยม |
|
|
แต่งหน้ายอดเยี่ยม | ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม |
|
|
ตัดต่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม | เทคนิคสมจริงยอดเยี่ยม |
|
|
Honorary Academy Awards
[แก้](already distributed)
[แก้]ภาพยนตร์ที่เข้าชิงมากที่สุด
[แก้]The following films received multiple nominations.
- 9 สาขา: Avatar และ The Hurt Locker
- 8 สาขา: Inglourious Basterds
- 6 สาขา: Precious: Based on the Novel "Push" by Sapphire และ Up in the Air
- 5 สาขา: Up
- 4 สาขา: District 9, Nine และ Star Trek
- 3 สาขา: An Education, Crazy Heart, The Princess and the Frog และ The Young Victoria
- 2 สาขา: A Serious Man, The Blind Side, Fantastic Mr. Fox, Invictus, The Imaginarium of Dr. Parnassus, The Last Station, The Messenger, Sherlock Holmes และ The White Ribbon
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Key Dates Announced for the 8nd Academy Awards". Academy of Motion Picture Arts and Sciences. 25 March 2009. สืบค้นเมื่อ 2009-03-27.