ประเทศพัฒนาแล้ว
ประเทศพัฒนาแล้ว (อังกฤษ: developed country) หมายถึงประเทศที่มีการพัฒนาในระดับที่สูงเมื่อวัดตามมาตรฐานบางประการ แต่การยึดเอามาตรฐานใดเป็นหลัก หรือการจัดกลุ่มให้ประเทศใดอยู่ในกลุ่มพัฒนาแล้วนั้นยังคงเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ โดยทั่วไปมาตรวัดทางเศรษฐกิจมักเป็นที่ยอมรับ เช่นการใช้รายได้ต่อหัวเป็นหลัก และให้ประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวสูงอยู่ในกลุ่มพัฒนาแล้ว ในระยะหลังมีการใช้ดัชนีการพัฒนามนุษย์ ซึ่งเป็นการรวมเอามาตรวัดทางเศรษฐกิจรวมกับมาตรวัดอื่น ๆ เช่นดัชนีอายุขัย และการศึกษา เพื่อเป็นตัววัดการพัฒนาของประเทศต่าง ๆ มากขึ้น จึงมีการจัดกลุ่มประเทศที่มีค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
[แก้]ดัชนีการพัฒนามนุษย์ เป็นดัชนีการวัดและเปรียบเทียบ ความยากจน การรู้หนังสือ การศึกษา อายุขัย การคลอดบุตร และปัจจัยอื่น ๆ ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นวิธีการวัดความอยู่ดีกินดีตามมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กและเยาวชน หลายคนใช้ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาตินี้ในการระบุว่าประเทศใดประเทศหนึ่งจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่กำลังพัฒนา หรือประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ดัชนีดังกล่าวได้พัฒนาขึ้นมาในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) โดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถานชื่อ มาฮฺบับ อุล ฮาค และองค์การสหประชาชาติได้ในดัชนีดังกล่าวมาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) เป็นต้นมา
ดัชนีการพัฒนามนุษย์วัดความสำเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศในการพัฒนามนุษย์สามด้านหลัก ๆ ได้แก่
- การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี ซึ่งวัดได้จากอายุขัย
- ความรู้ ซึ่งวัดได้จากการรู้หนังสือ (มีน้ำหนักเป็นสองในสามส่วน) และอัตราส่วนการเข้าเรียนสุทธิที่รวมกันทั้งระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษา (มีน้ำหนักเป็นหนึ่งในสามส่วน)
- มาตรฐานคุณภาพชีวิต ซึ่งวัดได้จากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ต่อหัวและภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ (purchasing power parity - PPP)
|
|
ค่าเฉลี่ยรายได้หลังหักภาษีของสมาชิก OECD
[แก้]อันดับ | ประเทศ | รายได้หลังหักภาษี $ 2011[4] |
การเปลี่ยนแปลง[5] | การหักภาษี[6][7] | รายได้รวม $ 2011[8] |
---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ | 42,035 | 242 | 26.0% | 54,450 |
2 | ไอร์แลนด์ | 41,170 | 531 | 18.9% | 50,764 |
3 | ลักเซมเบิร์ก | 37,997 | -1,477 | 28.1% | 52,847 |
4 | สวิตเซอร์แลนด์ | 35,471 | -57 | 29.4% | 50,242 |
5 | ออสเตรเลีย | 34,952 | 835 | 22.3% | 44,983 |
6 | บริเตนใหญ่ | 33,513 | -1,272 | 25.1% | 44,743 |
7 | แคนาดา | 32,662 | -648 | 22.7% | 42,253 |
8 | นอร์เวย์ | 31,101 | 913 | 29.3% | 43,990 |
9 | เกาหลีใต้ | 31,051 | 1,341 | 12.3% | 35,406 |
10 | เนเธอร์แลนด์ | 29,269 | -544 | 37.8% | 47,056 |
11 | ออสเตรีย | 29,008 | -177 | 33.4% | 43,555 |
12 | สวีเดน | 28,301 | 480 | 25.0% | 37,734 |
13 | เดนมาร์ก | 27,974 | -335 | 38.6% | 45,560 |
14 | ญี่ปุ่น | 27,763 | 724 | 21.0% | 35,143 |
15 | ฝรั่งเศส | 27,452 | 93 | 28.0% | 38,128 |
16 | สเปน | 26,856 | -466 | 21.9% | 34,387 |
17 | ฟินแลนด์ | 25,747 | 146 | 29.8% | 36,676 |
18 | เบลเยียม | 25,642 | 25 | 42.2% | 44,364 |
19 | เยอรมนี | 24,174 | 379 | 39.9% | 40,223 |
20 | อิตาลี | 23,194 | -562 | 30.8% | 33,517 |
21 | กรีซ | 21,352 | -2,039 | 18.8% | 26,295 |
22 | โปรตุเกส | 17,170 | -2,044 | 24.5% | 22,742 |
23 | เช็กเกีย | 15,115 | -191 | 23.0% | 19,630 |
24 | สโลวาเกีย | 14,701 | -328 | 22.9% | 19,068 |
25 | โปแลนด์ | 14,389 | 189 | 28.3% | 20,069 |
26 | ฮังการี | 12,843 | 52 | 35.0% | 19,437 |
รายชื่อประเทศพัฒนาแล้วในรายการอื่น
[แก้]ประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้าของ IMF
[แก้]35 ประเทศที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศยกย่องว่ามี "สภาพเศรษฐกิจก้าวหน้า" ได้แก่:[9]
|
สมาชิก Development Assistance Committee
[แก้]ประเทศสมาชิก OECD ที่เป็นสมาชิก DAC มีดังต่อไปนี้:
17 ประเทศในทวีปยุโรป:
|
|
2 ประเทศในทวีปเอเชีย:
2 ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ:
2 ประเทศในโอเชียเนีย:
- ออสเตรเลีย (1966)
- นิวซีแลนด์ (1973)
1 เข้าร่วม DAC ในปี 1961 ถอนตัวในปี 1974 และกลับมาเข้าร่วมอีกครั้งในปี 1991
สมาชิก Paris Club
[แก้]15 ประเทศในทวีปยุโรป:
3 ประเทศในทวีปเอเชีย:
3 ประเทศในทวีปอเมริกา:
1 ประเทศในโอเชียเนีย:
สมาชิกที่มีรายได้สูงของธนาคารโลก
[แก้]37 ประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป:
- อันดอร์รา
- ออสเตรีย
- เบลเยียม
- บัลแกเรีย
- Channel Islands
- โครเอเชีย
- ไซปรัส
- เช็กเกีย
- เดนมาร์ก
- เอสโตเนีย
- หมู่เกาะแฟโร
- ฟินแลนด์
- ฝรั่งเศส
- เยอรมนี
- ยิบรอลตาร์
- กรีซ
- ฮังการี
- ไอซ์แลนด์
- ไอร์แลนด์
- ไอล์ออฟแมน
- อิตาลี
- ลีชเทินชไตน์
- ลัตเวีย
- ลิทัวเนีย
- ลักเซมเบิร์ก
- มอลตา
- โมนาโก
- เนเธอร์แลนด์
- นอร์เวย์
- โปแลนด์
- โปรตุเกส
- โรมาเนีย
- รัสเซีย
- ซานมารีโน
- สโลวาเกีย
- สโลวีเนีย
- สเปน
- สวีเดน
- สวิตเซอร์แลนด์
- สหราชอาณาจักร
19 ประเทศและดินแดนในทวีปอเมริกาเหนือ:
14 ประเทศและดินแดนในทวีปเอเชีย:
7 ประเทศและดินแดนในโอเชียเนีย:
3 ประเทศในทวีปอเมริกาใต้:
1 ประเทศในทวีปแอฟริกา:
สมาชิก OECD ที่มีรายได้สูง
[แก้]สมาชิก OECD ที่มีรายได้สูง ได้แก่:
24 ประเทศในทวีปยุโรป:
|
3 ประเทศในทวีปเอเชีย:
2 ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ:
2 ประเทศในโอเชียเนีย:
ดัชนีคุณภาพชีวิตในปี 2005
[แก้]ผลวิจัยเกี่ยวกับมาตรฐานการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตโดย Economist Intelligence Unit ในรูปแบบดัชนีคุณภาพชีวิตครอบคลุม 111 ประเทศ โดยในปี 2005 ประเทศที่ติด 30 อันดับแรกได้แก่:[10]
|
ดัชนีประเทศที่ดีที่สุดในโลกของ Newsweek ในปี 2010
[แก้]ในปี 2010 Newsweek ได้เผยแพร่ดัชนีแสดง "ประเทศที่ดีที่สุดในโลก" โดยใช้เกณฑ์ "การศึกษา, สุขภาพ, คุณภาพชีวิต, เศรษฐกิจพลังงาน, และสภาพแวดล้อมทางการเมือง" ใน 100 ประเทศ โดยในปีนั้น 30 อันดับแรกคือ:[11]
|
30 อันดับแรกในหัวข้อ คุณภาพชีวิต ได้แก่:
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "World Economic and Financial Surveys World Economic Outlook Database—WEO Groups and Aggregates Information". IMF.org. International Monetary Fund. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 December 2019. สืบค้นเมื่อ 12 May 2020.
- ↑ Least Developed Countries เก็บถาวร 17 พฤษภาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (2018 list เก็บถาวร 21 ธันวาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อUNDP2020
- ↑ Gross wage - Compulsory deduction.
- ↑ Disposable income in 2011 - Disposable income in 2010.
- ↑ OECD Tax Database - Table S.2 - Average net personal compulsory payment rate (single, no children, 100% AW)
- ↑ Figure for Greece was not available in 2011, hence the figure for 2010 has been used instead.
- ↑ OECD Statistics -> Data by theme -> Labour -> Earnings -> Average annual wages
- ↑ IMF Advanced Economies List. World Economic Outlook, October 2012, p. 180
- ↑ The world in 2005: The Economist Intelligence Unit's quality-of-life index, The Economist. Accessed on line January 8, 2007.
- ↑ The world's best countries: 2010 index เก็บถาวร 2011-07-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Newsweek. Accessed on line August, 15 2010.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- IMF (advanced economies)
- The Economist (quality of life survey)
- The World Factbook เก็บถาวร 2008-04-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (developed countries)
- United Nations Statistics Division (definition)
- List of countries, United Nations Statistics Division (developed regions)
- World Bank (high-income economies)