การประกวดความงามระดับนานาชาติที่สำคัญ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การประกวดความงามระดับนานาชาติที่สำคัญ หรือ การประกวดความงามระดับนานาชาติแกรนด์สแลม ในปัจจุบันจากการจัดอันดับของเว็บไซต์โกลบอลบิวตีส์มีเวทีที่อยู่ในระดับแกรนด์สแลมดังนี้

สำหรับการประกวดนางงามเวทีระดับแกรนด์สแลม ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 5 เวทีการประกวด ประกอบไปด้วยมิสเวิลด์, มิสยูนิเวิร์ส, มิสอินเตอร์เนชันแนล, มิสซูปราเนชันแนล, และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล [1][2]

ขณะที่การประกวดความงามชายเวทีระดับแกรนด์สแลม ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 5 เวทีการประกวด ประกอบไปด้วย แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล, มิสเตอร์เวิลด์, มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล, มิสเตอร์โกลบอล และมิสเตอร์ซูปราเนชันแนล[3][4]

การประกวดของฝ่ายหญิง[แก้]

ผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศการประกวดนางงามระดับนานาชาติในปีล่าสุด[แก้]

เวทีการประกวด ผู้ชนะเลิศ
(อันดับ 1)
รองอันดับ 1
(อันดับ 2)
รองอันดับ 2
(อันดับ 3)
รองอันดับ 3
(อันดับ 4)
รองอันดับ 4
(อันดับ 5)
มิสเวิลด์ กริสตีนา ปิสโกวา
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ยาสมีนะฮ์ ซัยตูน
 เลบานอน
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
มิสยูนิเวิร์ส เชย์นิส ปาลาซิโอส
 นิการากัว
แอนโทเนีย โพซิ้ว
 ไทย
โมรายา วิลสัน
 ออสเตรเลีย
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
มิสอินเตอร์เนชันแนล อันเดรอา รูบิโอ
 เวเนซุเอลา
โซเฟีย โอซิโอ
 โคลอมเบีย
กามิลา ดิอัซ
 เปรู
นิโคล บอร์โรเมโอ
 ฟิลิปปินส์
เฮยส์ วาเนสซา
 โบลิเวีย
มิสซูปราเนชันแนล อันเดรอา อากิเลรา
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
คริสติน จูเลียน โอเปียซา
 ฟิลิปปินส์
ซังเกลร์ ฟรานตซ์
 บราซิล
เอ็มมา โรส คอลลิงริดจ์
 บริเตนใหญ่
ดอง ทันห์ เหงียน
 เวียดนาม
มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ลูเซียนา ฟุสเตร์
 เปรู
นิ นิ ลิน แอ๋น
 พม่า
มาริอา อาเลฆันดรา โลเปซ
 โคลอมเบีย
สเตฟานี มิแรนดา
 สหรัฐ
เล ฮหว่าง เฟือง
 เวียดนาม

เวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่สำคัญ[แก้]

  • มิสเวิลด์ (อังกฤษ: Miss World) เป็นเวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในสหราชอาณาจักร โดยมีการจัดการประกวดครั้งแรกในปี 1951 มีวัตถุประสงค์การจัดเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางด้านมนุษยธรรม
  • มิสยูนิเวิร์ส (อังกฤษ: Miss Universe) เป็นเวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในประเทศไทย โดยมีการจัดการประกวดครั้งแรกในปี 1952 มีวัตถุประสงค์การจัดเพื่อสนับสนุนทางด้านมนุษยธรรม, ความเท่าเทียมทางสังคม และพลังหญิง
  • มิสอินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: Miss International) เป็นเวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น เดิมทีมีสำนักงานใหญ่ในสหรัฐ โดยมีการจัดประกวดครั้งแรกในปี 1960 มีวัตถุประสงค์การจัดเพื่อเป็นสนับสนุนพลังบวกให้แก่ผู้หญิง
  • มิสซูปราเนชันแนล (อังกฤษ: Miss Supranational) เป็นเวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่มีสำนักใหญ่ตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์ โดยมีการจัดประกวดครั้งแรกในปี 2008 มีวัตถุประสงค์การจัดเพื่อสนับสนุนทางด้านกิจกรรมทางกุศลและการท่องเที่ยว
  • มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: Miss Grand International) เป็นเวทีการประกวดนางงามระดับนานาชาติที่มีสำนักใหญ่ตั้งอยู่ในประเทศไทย โดยมีการจัดประกวดครั้งแรกในปี 2013 มีวัตถุประสงค์การจัดเพื่อสนับสนุนการยุติความรุนแรงและสงคราม
มิสเวิลด์ มิสยูนิเวิร์ส มิสอินเตอร์เนชันแนล มิสซูปราเนชันแนล มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล
ก่อตั้ง 29 กรกฎาคม 1951; 72 ปีก่อน (1951-07-29) 28 มิถุนายน 1952; 71 ปีก่อน (1952-06-28) 1960; 64 ปีที่แล้ว (1960) 2008; 16 ปีที่แล้ว (2008) 2013; 11 ปีที่แล้ว (2013)
สำนักงานใหญ่  บริเตนใหญ่  ไทย  ญี่ปุ่น  โปแลนด์  ไทย
คำขวัญ Beauty with a Purpose[5] Confidently Beautiful[6] World peace through mutual understanding[7]
Aspirational Inspirational ยุติสงครามและความรุนแรง
(Stop the War and Violence)
สนับสนุน
  • ให้การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมโดยผ่าน บิวตีวิธอะเพอร์โพส (งามอย่างมีคุณค่า)[8]
  • สนับสนุนประเด็นด้านมนุษยธรรมและเป็นเสียงที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในโลก
[9][10]
  • บรรลุโลกที่ผู้หญิงสามารถมีชีวิตอยู่ ด้วย พอสซิทีฟ, ความแข็งแรง และบุคลิกลักษณะ
[11]
  • สนับสนุนกิจกรรมด้านการกุศลและการท่องเที่ยว
  • รณรงค์การหยุดยั้งสงครามและความรุนแรงในทุกๆ รูปแบบ
[12]
ประธาน
  • จูเลีย มอร์ลีย์
  • อาเคมิ ชิโมมูระ
  • เกอร์ฮาซ ลิพินกี
องค์กร
  • Miss World Limited
  • International Cultural Association
  • World Beauty Association

ประเทศและดินแดนที่ได้รับชัยชนะมากที่สุด[แก้]

ประเทศและดินแดนแรกที่ชนะการประกวดระดับนานาชาติที่สำคัญทั้งหมดรายการคือ ปวยร์โตรีโก เมื่อได้รับรางวัลมิสเอิร์ธ 2019 ปวยร์โตรีโกได้รับรางวัลมิสเวิลด์ สองครั้ง, มิสยูนิเวิร์ส ห้าครั้ง, มิสอินเตอร์เนชันแนล สองครั้ง, มิสซูปราเนชันแนล หนึ่งครั้ง และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล หนึ่งครั้ง

ประเทศและดินแดนต่อไปนี้ได้รับรางวัลทั้งหมดของการประกวดแกรนด์สแลมทั้งหมด 5 เวทีใหญ่ และการประกวดนานาชาติขนาดใหญ่:

ประเทศและดินแดน มิสเวิลด์ มิสยูนิเวิร์ส มิสอินเตอร์เนชันแนล มิสซูปราเนชันแนล มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล รวม
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 1955, 1981, 1984, 1991, 1995, 2011 1979, 1981, 1986, 1996, 2008, 2009, 2013 1985, 1997, 2000, 2003, 2006, 2010, 2015, 2018, 2023 2019 23
 สหรัฐ 1973, 1990, 2010 1954, 1956, 1960, 1967, 1980, 1995, 1997, 2012, 2022 1974, 1978, 1982 2020 16
 ฟิลิปปินส์ 2013 1969, 1973, 2015, 2018 1964, 1970, 1979, 2005, 2013, 2016 2013 12
 ปวยร์โตรีโก 1975, 2016 1970, 1985, 1993, 2001, 2006 1986, 2014 2018 2013 11
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย 1966, 1994, 1997, 1999, 2000, 2017 1994, 2000, 2021 2014, 2016 11
 ออสเตรเลีย 1968, 1972 1972, 2004 1962 ,1981, 1992 2015* 8
 แอฟริกาใต้ 1958, 1974*, 2014 1978, 2017, 2019 2022 7
 สหราชอาณาจักร 1961, 1964, 1965, 1974*, 1983 1969, 1972 7
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1956, 1980* 1961 1965, 1989, 2022 6
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก 2018 1991, 2010, 2020 2007, 2009 6
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 1989, 2021 1991, 1993, 2001 2011 6
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1951, 1952, 1977 1955, 1966, 1984 6
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 1971 1963, 1968 1968 2022 5
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 1958, 2014 1960, 1999, 2004 5
ธงของประเทศเปรู เปรู 1967, 2004 1957 2017, 2023 5
ธงของประเทศสเปน สเปน 2015 1974 1977, 1990, 2008 5
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1959, 1962 1989 1961 4
 ไทย 1965, 1988 2019 2019 4
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1960, 1978 1962 1967 4
ธงของประเทศจาเมกา จาเมกา 1963, 1976, 1993, 2019 4
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 1957 1952, 1975 1973 4
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1953 1953, 2016 1976 4
ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 1985, 1988, 2005 1963 4
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1992, 2008 2002* 3
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 1982 2003 2015* 3
ธงของประเทศกรีซ กรีซ 1996 1964 1994 3
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1959, 2007 2012 3
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 1990 1988, 1995 3
ธงของประเทศปานามา ปานามา 2002 1998 2010 3
ธงของประเทศตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 1986 1977, 1998 3
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 1982, 2005 2
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน 1971 2002 2
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 1969, 1987 2
ธงของประเทศจีน จีน 2007, 2012 2
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา 1980, 1983 2
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 2017 2016 2
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล 1998 1976 2
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1983 1971 2
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย 2015 2018 2
ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย 1992 2021 2
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2011 2023 2
ธงของประเทศนิการากัว นิการากัว 2023 1
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม 2021 1
ธงของประเทศชิลี ชิลี 1987 1
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 2006 1
 อังกฤษ 1986 1
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย 2001 1
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 2002 1
 เกาหลี 2017 1
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา 2011 1
ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส 2012 1
ธงของเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา 1979 1
ธงของประเทศบอตสวานา บอตสวานา 1999 1
ธงของประเทศคิวบา คิวบา 2014 1
ธงของประเทศกรีเนดา กรีเนดา 1970 1
ธงของประเทศอียิปต์ อียิปต์ 1954 1
ธงของยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 2009 1
ธงของกวม กวม 1980* 1
ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 1984 1
ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 2003 1
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 1996 1
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 2009 1
ยูโกสลาเวีย 1975 1

ผู้ชนะประกวดปีของฝ่ายหญิง[แก้]

20x20px[ลิงก์เสีย] ดูบทความหลักที่ รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสเวิลด์, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาล, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งนางงามนานาชาติ, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสซูปราเนชันแนล และ รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล

ปี 1951; 73 ปีที่แล้ว (1951) 1952; 72 ปีที่แล้ว (1952) 1960; 64 ปีที่แล้ว (1960) 2008; 16 ปีที่แล้ว (2008) 2013; 11 ปีที่แล้ว (2013)
มิสเวิลด์ มิสยูนิเวิร์ส มิสอินเตอร์เนชันแนล มิสซูปราเนชันแนล มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล
2024 TBA TBA TBA TBA TBA
2023 กริสตีนา ปิสโกวา
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
เชย์นิส ปาลาซิโอส
 นิการากัว
อันเดรอา รูบิโอ
 เวเนซุเอลา
อันเดรอา อากิเลรา
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ลูเซียนา ฟุสเตร์
 เปรู
2022 ยกเลิก[F] อาร์บอนนีย์ เกเบรียล
 สหรัฐ
ยัสมิน เซลแบร์ค
 เยอรมนี
ลาเลลา เอ็มสวาเน
 แอฟริกาใต้
อีซาแบลา เมนิง
 บราซิล
2021 การอลีนา บีแยลัฟสกา
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
หรนาซ สันธู
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ยกเลิก[F] ชานีค ราบี
ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย
เหงียน ทุก ถวี่ เตียน
 เวียดนาม
2020 ยกเลิก[F] อันเดรอา เมซา
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ยกเลิก[F] ยกเลิก[F] อาเบนา อัปเปียห์
 สหรัฐ
2019 โทนี-แอนน์ ซิงห์
 จาเมกา
โซซีบีนี ทุนซี
 แอฟริกาใต้
สิรีธร ลีห์อร่ามวัฒน์
 ไทย
แอนโทเนีย โพซิ้ว
 ไทย
บาเลนตินา ฟิเกรา
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
2018 วาเนสซา ปอนเซ
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
แคทรีโอนา เกรย์
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
มารีเอม เวลาซโก
 เวเนซุเอลา
บาเลเรีย บาสเกซ
 ปวยร์โตรีโก
กลารา โซซา
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
2017 มานูชี ชิลลา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
เดมี-ลีห์ เนล-ปีเตอร์
 แอฟริกาใต้
เควิน ลีเลียนา
 อินโดนีเซีย
เจนนี คิม
 เกาหลี
มาริอา โฆเซ โลรา
 เปรู
2016 สเตฟานี เดล วาล
 ปวยร์โตรีโก
อีริส มีเตอนาร์
 ฝรั่งเศส
ไคลี เวอร์โซซา
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ศรีนิธิ เซตตี
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
อาริซกา ปูตรี เปอร์ตีวี
 อินโดนีเซีย
2015 มีเรยา ลาลากูนา
 สเปน
เพีย วูร์ทซบาค
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
เอดีมาร์ มาร์ติเนซ
 เวเนซุเอลา
สเตฟานีอา สเต็กแมน
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
อาเนอา การ์ซิอา[B]
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
แคลร์ เอลิซาเบธ พาร์กเกอร์[E]
 ออสเตรเลีย
2014 โรลีน สเตราส์
 แอฟริกาใต้
เปาลีนา เบกา
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
วาเลรี เฮอร์นันเดซ
 ปวยร์โตรีโก
อาชา บัต
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ลิส การ์ซิอา
 คิวบา
2013 เมแกน ยัง
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
กาเบรียลา อิสเลร์
 เวเนซุเอลา
บีอา โรส ซันติอาโก
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
มุดยา ดาตุล
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
เยเนลิ ชาปาร์โร
 ปวยร์โตรีโก
2012 หยู เหวินเซียะ
 จีน
โอลิเวีย คัลโป
 สหรัฐ
อิคุมิ โยะชิมัตซึ[A]
 ญี่ปุ่น
เยคาเตรีนา บูรายา
ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2556 ที่กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย)
2011 อิเวียน ซาร์กอส
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
ไลลา ลอปึช
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา
มาเรีย เฟร์นันดา คอร์เนโจ
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
มอญีกา แลฟต์ซุก
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
2010 อเล็กซานเดรีย มิลล์ส
 สหรัฐ
คีเมนา นาบาร์เรเต
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
อีลิซาเบธ มอสเควนลา
 เวเนซุเอลา
การีนา ปีนียา
ธงของประเทศปานามา ปานามา
2009 ไคแอนน์ อันโดริโน
ธงของยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์
สเตฟานีอา เฟร์นันเดซ
 เวเนซุเอลา
อานากาเบรียลา เอสปิโนซา
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ออคซานา โมเรีย
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
2008 คเซเนีย ซูคิโนวา
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
ดายานา เมนโดซา
 เวเนซุเอลา
อเลแจนดรา แอนดรูว์
ธงของประเทศสเปน สเปน
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2552 ในปวอตซ์ก, ประเทศโปแลนด์)
2007 จาง จือลิน
 จีน
ริโยะ โมะริ
 ญี่ปุ่น
พริสซิลลา เพอร์ลาเลซ
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
2006 ทาทานา คูชาโรวา
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ซูเลย์กา รีเบรา เมนโดซา
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
ดาเนียลา กีอาโคโม
 เวเนซุเอลา
2005 อันเนอร์ วิลห์จาล์มดอตตีร์
ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
นาตาลี เกลโบวา
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
เพอร์ซิอัส เควกาแมน
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
2004 มาเรีย จูเลีย แมนทิลลา
ธงของประเทศเปรู เปรู
เจนนิเฟอร์ ฮอว์กกินส์
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
จีมมี โพลา วาร์กัส
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
2003 โรแซนนา เดวิสัน
ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์
อาเมเลีย เบกา
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
กรอเซเดอร์ เอซัว
 เวเนซุเอลา
2002 แอซรา อาคิน
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
ออกซานา โฟยโดโรวา[B]
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
จัสติน ปาเสค[E]
ธงของประเทศปานามา ปานามา
คริสติน่า ซาวายา
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
2001 อักบานี ดาเรโก
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย
เดนิส กีโญเนส
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
มัลกอร์เซตา รอซนีคกา
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
2000 ปริยังกา โจปรา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ลาร่า ดัตตา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
วิเวียน เออร์เดนีตา
 เวเนซุเอลา
1999 ยุกตา มุกเฮย์
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
เอ็มพูเล่ คเว-ลาโกเบ้
ธงของประเทศบอตสวานา บอตสวานา
พอลลีนา กัลเวซ
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
1998 ไลนอร์ อาบาร์กิล
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
เวนดี้ ฟิตซ์วิลเลี่ยม
 ตรินิแดดและโตเบโก
ลีอา บอร์เรโล
ธงของประเทศปานามา ปานามา
1997 ไดอานา เฮย์เดน
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
บรู๊ค มาเฮลานี่ ลี
 สหรัฐ
คอนซูเอโล แอดเลอร์
 เวเนซุเอลา
1996 ไอรีน สกลีวา
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
อลิเซีย มาชาโด้
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
เฟร์นันดา อัลเวซ
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
1995 แจคเกอลีน อากีเลรา
 เวเนซุเอลา
เชลซี่ สมิธ
 สหรัฐ
แอนน์ ลีนา ฮันสัน
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
1994 ไอศวรรยา ราย
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ชุชมิตา เซน
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
คริสตินา เล็คกา
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
1993 ลิซา ฮันนา
ธงของประเทศจาเมกา จาเมกา
ดายานารา ตอร์เรส
 ปวยร์โตรีโก
อัคเนสตา พาซาลโก
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
1992 จูเลีย คูรอตชคีนา
 รัสเซีย
มิเชล แม็คลีน
ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย
คริสเตน เดวิดสัน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
1991 นีนีเบธ เลอัล
 เวเนซุเอลา
ลูปีตา ยอนส์
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
อัคเนซกา คอทลาร์สกา
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
1990 จีนา โทลล์สัน
 สหรัฐ
มูนา กรุดท์
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
ซิลเวีย เด เอสเตบัน
ธงของประเทศสเปน สเปน
1989 อานีตา เครกลิกกา
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
อังเคลา ฟิสเซอร์
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ไอริส เคลน
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
1988 ลินดา เพคเตอร์สดอตตีร์
ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก
 ไทย
แคทเธอรีน กูด
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
1987 อัลลา ไวเกอร์สตอร์เฟอร์
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
เซซีเลีย โบล็อกโก
ธงของประเทศชิลี ชิลี
ลอรี ซิมป์สัน
 ปวยร์โตรีโก
1986 จีเซลล์ ลารอนดี
 ตรินิแดดและโตเบโก
บาร์บารา ปาลาซีโอส เตย์เด
 เวเนซุเอลา
เฮเลน แฟร์บราเธอร์
 อังกฤษ
1985 โฮล์มฟรีเออร์ คาร์ลสดอตตีร์
ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
เดโบราห์ คาร์ที-ดิว
 ปวยร์โตรีโก
นีนา ซิซิเลีย เฮอร์นันเดซ
 เวเนซุเอลา
1984 แอสทริด เฮอร์เรรา
 เวเนซุเอลา
อีวอนน์ ไรดิ้ง
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
อิลมา เออร์อูเตีย
ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา
1983 ซาร่าห์-เจน ฮัทท์
 สหราชอาณาจักร
ลอร์เรน ดาวเนส
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
กิดเกจ ซานโดวาล
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
1982 มาเรียเซลา อัลวาเรซ
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
คาเรน ไดแอน บอลด์วิน
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
คริสตี เอลเลน คลาริดก์
 สหรัฐ
1981 ไพลิน เลออน
 เวเนซุเอลา
อีเรเน ซาเอซ
 เวเนซุเอลา
เจนนี แอนเนตต์ เดเร็ค
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
1980 กาเบรียลลา บรัม[D]
 เยอรมนีตะวันตก
คิมเบอร์ลี ซานโตส[E]
ธงของกวม กวม
ชอว์น เวเธอร์ลี่
 สหรัฐ
ลอร์นา ชาเวซ
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
1979 จีนา สเวนสัน
 เบอร์มิวดา
มาริตซา ซายาเลโร
 เวเนซุเอลา
มิมีลานี มาร์เควซ
 ฟิลิปปินส์
1978 ซิลวานา ซัวเรซ
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
รีน่า เมซซิงเกอร์
 แอฟริกาใต้
แคทเธอรีน รูธ
 สหรัฐ
1977 แมรี สเตวิน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
จาเนียล คอมมิสซิออง
 ตรินิแดดและโตเบโก
ไพลาร์ เมดีนา
 สเปน
1976 ซินดี บรีกสเปียร์
ธงของประเทศจาเมกา จาเมกา
รีน่า เมซซิงเกอร์
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
โซฟี เพริน
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
1975 วิลนีเลีย เมอร์เคด
 ปวยร์โตรีโก
แอนน์ มาเรีย โพห์ทาโม
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์
ลิดีจา เวรา มานิค
ยูโกสลาเวีย
1974 เฮเลน มอร์แกน[D]
 สหราชอาณาจักร
แอนน์ลีน กรีล[E]
 แอฟริกาใต้
อัมปาโร มูโญซ[C]
 สเปน
คาเรน บรูค สมิธ
 สหรัฐ
1973 มาร์จอรี วอลเลซ[A]
 สหรัฐ
มาการีตา โมแรน
 ฟิลิปปินส์
แอนลี บจอร์คลิง
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์
1972 บีลินดา กรีน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เคอร์รี่ แอนน์ เวลส์
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ลินดา ฮุกส์
 สหราชอาณาจักร
1971 ลูเคีย เพตเตอร์ลี
 บราซิล
จอร์เจียน่า ริสก์
 เลบานอน
เจน เฮนซัน
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
1970 เจนนิเฟอร์ ฮอสเตน
 กรีเนดา
มารีซอล มาลาเรต
 ปวยร์โตรีโก
ออโรรา พีฮวน
 ฟิลิปปินส์
1969 อีวา รูเบอร์ สไตเออร์
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
กลอเรีย เดียซ
 ฟิลิปปินส์
วาเลรี โฮล์มส์
 สหราชอาณาจักร
1968 เพเนโลเป พลัมเมอร์
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
มาร์ธา แวสคอนเซลลอส
 บราซิล
มาเรีย คาร์วัลโญ
 บราซิล
1967 เมเดลีน ฮาร์ทอจ-เบลล์
ธงของประเทศเปรู เปรู
ซิลเวีย ฮิชค็อก
 สหรัฐ
เมอร์ตา มาซซา
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
1966 เรอิตา ฟาเรีย
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
มากาเรต้า อาวิดสัน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
ยกเลิก[F]
1965 เลสลีย์ แลงลีย์
 สหราชอาณาจักร
อาภัสรา หงสกุล
 ไทย
อินกริด ฟิงเกอร์
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
1964 แอนน์ ซิดนีย์
 สหราชอาณาจักร
คอรินนา โซเพอิ
 กรีซ
เจมมา ครูซ
 ฟิลิปปินส์
1963 แคโรล โจแอน คราวฟอร์ด
ธงของประเทศจาเมกา จาเมกา
เอด้า มาเรีย วากัส
 บราซิล
บัดดราน เบจานาร์ด็อทเตอร์
ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
1962 แคธารีนา ลอดเดอร์ส
 ฮอลแลนด์
นอร์มา โนแลน
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ทาเนีย เวอร์สตัค
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
1961 โรสแมรี ฟรังค์แลนด์
 สหราชอาณาจักร
มาร์ลีน ชมิดท์
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
แสตม แวน แบร์
 ฮอลแลนด์
1960 นอร์มา แคพแพกลี
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ลินดา เบเมนท์
 สหรัฐ
สเตลลา มาร์เควซ
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
1959 คอรีน รอตต์สชาเฟอร์
 ฮอลแลนด์
อะคิโกะ โคะจิมะ
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2503 ในรัฐแคลิฟอร์เนีย, ประเทศสหรัฐอเมริกาและได้รับโอนกรรมสิทธิ์ในปีพ.ศ. 2511 ในกรุงโตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น)
1958 เพเนโลเป แอนน์ โคเอเลน
 แอฟริกาใต้
ลุซ มารีนา ซูลัวกา
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
1957 มาริตา ลินดาห์ล
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์
เกลดิส เซนเดอร์
ธงของประเทศเปรู เปรู
1956 พีตรา สชูร์แมน
 เยอรมนีตะวันตก
แครอล มอร์ริส
 สหรัฐ
1955 ซูซานนา ดูอีม
 เวเนซุเอลา
ฮิลเลวี รอมบิน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
1954 แอนติกอน คอสแตนดา
 อียิปต์
มิเรียม สตีเวนสัน
 สหรัฐ
1953 เดนิส เพอร์รีร์
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
คริสตียาน มาร์แตล
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
1952 เมย์ หลุยส์ ฟลอดิน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
อาร์มี คูเซลา
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์
1951 กีกี ฮาเคนส์สัน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2495 ในรัฐแคลิฟอร์เนีย, ประเทศสหรัฐอเมริกาและหลังจากนั้นได้ย้ายไปอยู่ในฟลอริดา, สหรัฐอเมริกาในปีพ.ศ. 2503)
หมายเหตุ ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2494 ในอังกฤษ, สหราชอาณาจักร)

A (ปลดออกจากตำแหน่ง, ไม่มีการเปลี่ยน) B (ปลดออกจากตำแหน่ง) C (ลาออกจากตำแหน่ง, ไม่มีการเปลี่ยน) D (ลาออกจากตำแหน่ง) E (ดำรงตำแหน่งแทน) F (ยกเลิกจัดประกวด)

การประกวดของฝ่ายชาย[แก้]

ผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศการประกวดนางงามระดับนานาชาติในปีล่าสุด[แก้]

เวทีการประกวด ผู้ชนะเลิศ
(อันดับ 1)
รองอันดับ 1
(อันดับ 2)
รองอันดับ 2
(อันดับ 3)
รองอันดับ 3
(อันดับ 4)
รองอันดับ 4
(อันดับ 5)
แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล ล็อกกี แครี
 ออสเตรเลีย
โจชัว ราฟาเอล เด เซเกรา
 ฟิลิปปินส์
เอไลจาห์ แวน ซานเทน
 สหรัฐ
เจิ่น มานห์ เคียน
 เวียดนาม
คาส ฮากมัน
 เนเธอร์แลนด์
มิสเตอร์เวิลด์ แจ็ก แฮเซิลวูด
 อังกฤษ
เฟซีล เอ็มคิเซ
 แอฟริกาใต้
ไบรอัน โฟจิเยร์
 เม็กซิโก
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล ธิติสรรค์ กู้ดเบิร์น
 ไทย
วิลเลียม บาเดลล์
 เวเนซุเอลา
เอ็ดเวิร์ด โอกุนนิยา
 บราซิล
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
มิสเตอร์โกลบอล เจสัน ดีแลน เบรตเฟลีน
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
โอลิเวอร์ เฉิง
 ฮ่องกง
อัลบาโร ฟลอเรส การ์บาฮาล
 ชิลี
เควิน ดาวาลอส เว่ย ไท่
 ไต้หวัน
เล โห่ว ดั๊ต
 เวียดนาม
มิสเตอร์ซูปราเนชันแนล อิบัน อัลบาเรซ
 สเปน
เฮนริเก้ มาร์ตินส์
 บราซิล
ลูก้า เดริน
 เนเธอร์แลนด์
ลี ยง-วู
 เกาหลีใต้
ดาเนียล เอ็มบูดา
 แคเมอรูน

เวทีการประกวดความงามชายระดับนานาชาติที่สำคัญ[แก้]

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์เวิลด์ มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์โกลบอล มิสเตอร์ซูปราเนชันแนล
ก่อตั้ง 1993; 31 ปีที่แล้ว (1993) 1996; 28 ปีที่แล้ว (1996) 2006; 18 ปีที่แล้ว (2006) 2014; 10 ปีที่แล้ว (2014) 2016; 8 ปีที่แล้ว (2016)
สำนักงานใหญ่  ออสเตรเลีย  บริเตนใหญ่  ไทย  ไทย  โปแลนด์
คำขวัญ Celebrating passion, humanity, humility and harmony through uncompromising manhood World's most desirable Man Distinctively Handsome Inspiring Gentleman -
สนับสนุน
  • -
  • -
  • -
  • -
  • สนับสนุนกิจกรรมด้านการกุศลและการท่องเที่ยว
ประธาน
  • รอสโก ดิกคินสัน
  • จูเลีย มอร์ลีย์
  • ประดิษฐ์ ประดินันทน์
  • ปิยาภรณ์ แสนโกศิก
  • เกอร์ฮาซ ลิพินกี
องค์กร
  • Procon Leisure International Pty Ltd
  • Miss World Limited
  • Mister International
  • Mister Global Co Ltd
  • World Beauty Association

ประเทศและดินแดนที่ได้รับชัยชนะมากที่สุด[แก้]

ประเทศต่อไปนี้ได้รับรางวัลทั้งหมดของการประกวดแกรนด์สแลม:

ประเทศและดินแดน แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์เวิลด์ มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์โกลบอล มิสเตอร์ซูปราเนชันแนล จำนวนผู้ชนะ
 เวียดนาม 2017 2008, 2019 2015, 2021* 5
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย 2001 2016 2023 2018 4
 บราซิล 2003 2007, 2011 2017 4
 เวเนซุเอลา 1999 2008 2013 2017 4
ธงของประเทศสเปน สเปน 2018 2007 2021* 3
 เลบานอน 2006, 2012, 2016 3
 สหรัฐ 2006 2018 2019 3
 เกาหลี 2017 2019 2
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2000, 2022 2
ธงของประเทศจีน จีน 2007, 2011 2
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2012 2015 2
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1998, 2016 2
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 1996 1
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย 2009 1
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2012 1
ธงของประเทศคิวบา คิวบา 2022 1
 เช็กเกีย 2016 1
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 2014 1
 อังกฤษ 2019 1
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2002 1
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1993 1
ธงของประเทศกรีซ กรีซ 1994 1
 ไอร์แลนด์ 2010 1
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก 2016 1
ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก 2008 1
 พม่า 2014 1
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 2019 1
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1997 1
ธงของประเทศเปรู เปรู 2021 1
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 2010 1
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 1995 1
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 2015 1
 ไทย 2023 1
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 2005 1
 บริเตนใหญ่ 2010 1
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย 2000 1

ผู้ชนะประกวดปีของฝ่ายชาย[แก้]

20x20px[ลิงก์เสีย] ดูบทความหลักที่ รายชื่อผู้ครองตำแหน่งแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสเตอร์เวิลด์, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล, รายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสเตอร์โกลบอล และรายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสเตอร์ซูปราเนชันแนล

ปี 1993; 31 ปีที่แล้ว (1993) 1996; 28 ปีที่แล้ว (1996) 2006; 18 ปีที่แล้ว (2006) 2014; 10 ปีที่แล้ว (2014) 2016; 8 ปีที่แล้ว (2016)
แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์เวิลด์ มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล มิสเตอร์โกลบอล มิสเตอร์ซูปราเนชันแนล
2024 TBA TBA TBA TBA TBA
2023 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] ธิติสรรค์ กู้ดเบิร์น
 ไทย
เจสัน ดีแลน เบรตเฟลีน
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
อิบัน อัลบาเรซ
 สเปน
2022 ล็อกกี แครี
 ออสเตรเลีย
ไม่มีการจัดประกวด[F] มานู ฟรังโก
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
ฆวน การ์โลส อาริโอซา
 คิวบา
ลุยส์ ดานิเอล กัลเบซ
ธงของประเทศคิวบา คิวบา
2021 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] มิเกล อังเฆล ลูคัส การ์รัสโก[B]
 สเปน
ดัญ เจียว ลิญ[E]
 เวียดนาม
บาโร บาร์กัส
 เปรู
2020 พอล ลูซิเนียล
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F]
2019 ไม่มีการจัดประกวด[F] แจ็ก แฮเซิลวูด
 อังกฤษ
จิ่ญ วัน บ๋าว
 เวียดนาม
คิม จง-อู
 เกาหลี
เนท เคินโควิช
 สหรัฐ
2018 บีเซนต์ กอนซาเลซ
ธงของประเทศสเปน สเปน
ไม่มีการจัดประกวด[F] อี ซึง-ฮวัน
 เกาหลี
ดาริโอ ดูเก
 สหรัฐ
ปราถะเมศ เมาลิงการ์
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
2017 เจือง หง็อก ติ่ญ
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] เปดรู ฌีกา
 บราซิล
กาบริเอล กอร์เรอา
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
2016 พาทริก เชอ
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
โรหิต ข่านเดลวัล
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
พอล อิสกันดาร์
 เลบานอน
โตมาช มาร์ตินกา
 เช็กเกีย
ดิเอโก การ์ซิ
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
2015 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] เปโดร เมนเดส
 สวิตเซอร์แลนด์
เหงียน วัน เซิน
 เวียดนาม
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2556 ที่กรือญิตสา-ซดรุย, ประเทศโปแลนด์)
2014 ไม่มีการจัดประกวด[F] นีแกลส พีเดอร์เซิน
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
นีล เปเรซ
 ฟิลิปปินส์
เมียะ ตูยะ ลวีน
 พม่า
2013 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] โชเซ อันเม
 เวเนซุเอลา
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2557 ที่กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย)
2012 จูน มากาเซต
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ฟรันซิสโก เอสโกบาร์
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
อาลี ฮัมหมัด[B]
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
รอน เทห์[E]
 สิงคโปร์
2011 เฉิน เจียง เฟิง
ธงของประเทศจีน จีน
ไม่มีการจัดประกวด[F] เซซาร์ กูร์ชี
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2010 ปีเตอร์ เมนกี
 สโลวาเกีย
คาเมล อิบราฮิม
 ไอร์แลนด์
ไรอัน เทอร์รี
 บริเตนใหญ่
2009 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F] บรูโน เกตเทลส์
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย
2008 อับเดลมูแมน เอล แมกฮาวี
ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก
ไม่มีการจัดประกวด[F] โง เตี๊ยน ดว่าน
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
2007 เจฟฟรีย์ เจิ้ง ยฺหวี่ กวง
ธงของประเทศจีน จีน
ฆวน การ์ซิอา โปสติโก
ธงของประเทศสเปน สเปน
อลัน บีอันโก มาร์ชีนี
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2006 ไฮเม ออกัสโต มายอล
 สหรัฐ
ไม่มีการจัดประกวด[F] วิชแซม ฮันนา
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
2005 ทอลกาฮัน ซายึชมัน
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2549 ใน ประเทศสิงคโปร์)
2004 ฟาบริซ วาเตซ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ไม่มีการจัดประกวด[F]
2003 ไม่มีการจัดประกวด[F] กุสตาวู เฌียเนตชี
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2002 ไม่มีการจัดประกวด[F] ไม่มีการจัดประกวด[F]
2001 ราจีฟ สิงห์
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ไม่มีการจัดประกวด[F]
2000 เบร็ตต์ วิลสัน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
อิกนาเซียว กีลเช
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย
1999 เอร์เนสโต กัลซาดียา
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
ไม่มีการจัดประกวด[F]
1998 ปีเตอร์ อีริคเซิน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
ซังดรู ฟีโนบีริโอ
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
1997 เจสัน เออร์เซก
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ไม่มีการจัดประกวด[F]
1996 ไม่มีการจัดประกวด[F] ทอม นูเยนส์
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
1995 อัลแบ เจลเดนฮุยส์
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2539 ที่อิสตันบูล, ประเทศตุรกี)
1994 นิคอส ปาปาดากิส
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
1993 โทมัส ซัสเซอ
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
หมายเหตุ ไม่มีการแข่งขันจัดขึ้น
(จัดตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2536 ใน โกลด์โคสต์, ประเทศออสเตรเลีย)

A (ปลดออกจากตำแหน่ง, ไม่มีการเปลี่ยน) B (ปลดออกจากตำแหน่ง) C (ลาออกจากตำแหน่ง, ไม่มีการเปลี่ยน) D (ลาออกจากตำแหน่ง) E (ดำรงตำแหน่งแทน) F (ยกเลิกจัดประกวด)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "THE GLOBAL BEAUTIES GRAND SLAM OF BEAUTY PAGEANTS".
  2. "The 5 current Grand Slam winners".
  3. "THE GRAND SLAM OF MEN´S COMPETITIONS".
  4. "List of men's Grand Slam competitions winners".
  5. News, CNN (28 September 2013). "Miss Philippines crowned the new Miss World". CNN International. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020. {{cite news}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. News, Philippines (23 March 2019). "Paula Shugart: 'Catriona Gray is the essence of confidently beautiful'". Rappler. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020. {{cite news}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. Miss Internationall, Website (26 April 2020). "About Miss International". สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. "EFI Donates P1M To MWP". esquire.com. 2 Oct 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2012. สืบค้นเมื่อ 14 May 2013.
  9. Miss Universe, Website (20 April 2020). "About Miss Universe". สืบค้นเมื่อ 20 April 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. Scott, H. Allan (16 December 2018). "Catriona Gray of Philippines Crowned". Newsweek. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. Miss International, News (7 September 2018). "The Miss International Advocacy". Miss International. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020. {{cite web}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  12. "ช่วยกันลดความรุนแรง ณวัฒน์ หวังให้คนเข้าใจ". สืบค้นเมื่อ 1 พ.ค. 2563.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]