มิสเอิร์ธ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มิสเอิร์ธ
ก่อตั้ง2544
ประเภทการประกวดความงาม
สํานักงานใหญ่มะนิลา
ที่ตั้ง
ภาษาทางการ
อังกฤษ
ประธานบริหาร
เรมอน มอนซอน
บุคลากรหลัก
โรรายน์ ซคัต
เว็บไซต์official website

มิสเอิร์ธ (อังกฤษ: Miss Earth) เป็นการประกวดนางงามในฟิลิปปินส์ โดยชูแนวคิดรณรงค์ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม[1][2]

ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง การประกวดส่วนใหญ่จัดขึ้นที่ฟิลิปปินส์, ในเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน, แต่เวียดนามและออสเตรียก็เป็นเจ้าภาพงานนี้เช่นกัน ตั้งแต่ 2002, มีการถ่ายทอดสดทั่วประเทศผ่านทาง ABS-CBN (ยกเว้นในปี 2018 เมื่อ GMA Network ออกอากาศการประกวด) และ Studio 23 (จนกว่าจะปิดตัวลงในปี 2014), ด้วยการออกอากาศทางโทรทัศน์ระหว่างประเทศกว่า 80 ประเทศผ่าน Star World (เปลี่ยนชื่อเป็น Fox Life) และ The Filipino Channel.[3][4][5]

ผู้ครองตำแหน่งในแต่ละปีจะอุทิศตนเพื่อส่งเสริมโครงการเฉพาะ, มักกล่าวถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและความท้าทายระดับโลกอื่นๆ[6][7] ผ่านทัวร์โรงเรียน, กิจกรรมปลูกต้นไม้, การรณรงค์ตามท้องถนน, การทำความสะอาด, การพูดจา, ทัวร์ห้างสรรพสินค้า, สื่อมวลชน, งานแสดงสินค้าด้านสิ่งแวดล้อม, โปรแกรมเล่าเรื่องสำหรับเด็ก, งานแสดงแฟชั่นเชิงนิเวศ และกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ.[8][9][10]

ผู้ได้รับรางวัลมิสเอิร์ธจะได้เป็นโฆษกมูลนิธิมิสเอิร์ธ โครงการสิ่งแวดล้อม แห่งสหประชาชาติ (UNEP) และองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ.[11][12][13] มูลนิธิมิสเอิร์ธยังทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมและกระทรวงของประเทศที่เข้าร่วม ภาคเอกชนและองค์กรต่างๆ รวมถึงมูลนิธิสัตว์ป่าโลก (WWF).[14][15][16]

มิสเอิร์ธคนปัจจุบันคือ Drita Ziri จากแอลเบเนีย ได้รับการสวมมงกุฎในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2566

เจ้าภาพในการจัดประกวด[แก้]

การประกวดมิสเอิร์ธนั้น ส่วนใหญ่จะจัดประกวดในประเทศฟิลิปปินส์ บางปีกองประกวดอาจจะพาสาวงามไปเก็บตัวหรือพาไปประกวดที่ประเทศอื่น ได้แก่ ปี 2015 จัดที่ประเทศออสเตรีย, ปี 2010, 2023-2024 จัดที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งจะไปประกวดที่ไหนนั้นจะขึ้นอยู่กับคำสั่งของกองประกวดในปีนั้น ๆ

รูปแบบการประกวด[แก้]

เวทีการประกวดมิสเอิร์ธในช่วงยุคแรกของการประกวด (ปี 2001 - 2003) กองประกวดนั้นจะคัดเลือกสาวงาม 10 คนสุดท้ายที่ความพร้อมและความสามารถผ่านเข้ารอบ จากนั้นจึงคัดให้เหลือ 8 และ 4 คนสุดท้าย และในยุคปัจจุบัน (ปี 2004 - ปัจจุบัน) ในรอบแรกจะคัดให้เหลือ 16 คน จากนั้นจึงคัดให้เหลือ 8 และ 4 คนสุดท้าย แล้วจึงคัดหาผู้ชนะต่อไป

ในการประกวดมิสเอิร์ธ เมื่อมีการประกาศผลแล้ว จะชื่อประจำตำแหน่งต่าง ๆ เช่นชนะเลิศือมิสเอิร์ท รองชนะเลิศทั้ง 3 คนจะมีชื่อตำแหน่งว่ามิสเอิร์ธแอร์ มิสเอิร์ธวอเตอร์ มิสเอิร์ธไฟเออร์ (มีตำแหน่งที่เท่ากัน) [ต้องการอ้างอิง]

ของรางวัลที่ผู้ชนะจะได้รับ[แก้]

มงกุฎรูปแบบเก่า[แก้]

มงกุฎรูปเก่านั้นมีอยู่ 2 แบบโดยแบบแรกนั้นใช้ในปี 2001 ซึ่งเป็นรูปแบบมงกุฏแบบ ชวารอสกี้ และแบบที่ 2 นั้นเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2002 - 2007 และเป็นการใช้ติดต่อกันเป็นเวลา 8 ปี จึงทำให้ตัวมงกุฏนั้นเกิดการชำรุดเสียหาย โดยการออกแบบตัวมงกุฎนั้นจะมีแนวคิดจากการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก และถูกออกแบบโดย มัลติอวอร์ด ซึ่งตัวมงกุฎนั้นจะประกอบไปด้วย เงิน สแนเลท ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโครงมงกุฎ แต่ยังคงรูปแบบของชวารอสกี้แบบเดิม และตัวมงกุฎนั้นจะประดับด้วยเพชรพลอย สีแดง และสีฟ้า และมีไข่มุกชวารอสกี้เป็นส่วนประดับเพิ่มเติมอีกด้วย

มงกุฎรูปแบบใหม่[แก้]

มงกุฎรูปแบบใหม่นี้ถูกใช้ขึ้นเมื่อปี 2008 ทำจากโลหะซึ่งเป็นเงิน ทอง และสแทนเลท เป็นส่วนประกอบของโครงมงกุฎ อัญมณีที่ใช้ประดับตัวมงกุฎนั้นได้มาจากการบริจาคจาก 80 ประเทศ และเป็นอัญมณีที่ขึ้นชื่อของแต่ละประเทศนั้น ตัวมงกุฎนั้นแบ่งได้เป็น 3 ส่วนคือ

  • ดอกไม้ ที่อยู่บริเวณตรงกลางของตัวมงกุฎ การออกแบบนั้นได้แรงบรรดาลใจจาก นักกวีชาวสหรัฐอเมริกา ที่ชื่อ ราฟ วอลโด อีเมอซัน
  • ตัวเกลียวที่อยู่บริเวณรอบๆตัวดอกไม้ แสดงให้เห็นถึงอำนาจและศักดิ์ศรีของเพศหญิง
  • คลื่นที่อยู่บริเวณท้ายเชื่อมกับตัวเกลียวของตัวมงกุฎ แสดงให้เห็นถึงความสุภาพ สามัคคี และการร่วมมือกัน

เครื่องประดับ[แก้]

นอกจากมงกุฎที่ผู้ชนะและรองทั้ง 3 คนจะได้รับแล้ว ทั้ง 4 คนยังจะได้ชุดเครื่องประดับเป็นของรางวัลอีกหนึ่งอย่างซึ่งชุดเครื่องประดับพวกนี้ถูกสร้างและออกแบบโดย บริษัท โรโมน่า เฮอร์ ไฟน์ จำกัด[ต้องการอ้างอิง] ซึ่งได้แรงบัลดาลใจมาจากขยะ ราคาของชุดเครื่องประดับของผู้ชนะจะประมาณ 250 ดอลล่าห์สหรัฐฯ ส่วนของรองทั้ง 3 นั้นราคาจะประมาณ 10000 ดอลล่าห์สหรัฐฯ ซึ่งตัวเครื่องประดับนั้นจะออกแบบลวดลายตามตำแหน่งที่ได้รับ

  • มิสเอิร์ท จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่มี จี้เป็นรูปดอกไม้และตัวของสายนั้นจะเป็นรูปผีเสื้อมีทั้งสีเหลืองและสีขาว อัญมณีที่ใช้เช่น ทัวร์มาลีน บุษราคัม ไพฑูรย์ เพชร และพลอยสังเคราะห์ น้ำหนักรวม 56 กะรัต เพชร 3.0 กะรัต สร้อยคอยาว 17 นิ้ว และต่างหูยาว 3 นิ้ว
  • มิสเอิร์ธแอร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่มี ลักษณะเป็นคลื่นและเกลียวมีสีเหลืองและขาว ทอง 14K ประดับด้วยอัญมณีสีและเพชร อัญมณีที่ใช้เป็นพลอยสีเหลืองและทอง มีน้ำหนักรวม 65 กรัม สร้อยคอยาว 17 นิ้ว และต่างหูยาว 3 นิ้ว
  • มิสเอิร์ธวอเตอร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่เป็นรูปคลื่นและมีจี้เป็นรูปปลา ประดับด้วยอัญมณีสีเหลืองและฟ้า ไพรินสีน้ำเงิน น้ำหนักรวม 78 กรัม สร้อยยาว 17 นิ้วและต่างหูยาว 3 นิ้ว
  • สเอิร์ธไฟเออร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหู เป็นลายประกายไฟจะใช้อัญมณีเป็นเพชรพลอยสีเหลืองและฟ้าและใช้หยกจากประเทศมาเลเซีย ซึ่งน้ำหนักรวมจะประมาณ 87.7 กรัม ซึ่งตัวสร้อยจะยาว 17 นิ้ว และตัวต่างหูยาว 3 นิ้ว

นอกจากนี้ทั้ง 4 คนยังจะได้รับสร้อยคอที่มีสัญลักษณ์ประจำตำแหน่งที่ตัวเองได้ดำรงตำแหน่งอีกด้วย

ผู้ดำรงตำแหน่ง[แก้]

ปี ประเทศ ผู้ดำรงตำแหน่ง สถานที่จัดประกวด ผู้เข้าประกวด
2023  แอลเบเนีย ดรีตา ซีรี (Drita Ziri) เวียดนาม นครโฮจิมินห์, เวียดนาม 88
2022 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ มีนา ซู ชเว (Mina Sue Choi) ฟิลิปปินส์ มะนิลา, ฟิลิปปินส์ 85
2021  เบลีซ เดซทินี่ย์ แวคเนอร์ (Destiny Wagner) ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (ออนไลน์) 89
2020  สหรัฐ ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์ (Lindsey Coffey) 84
2019  ปวยร์โตรีโก เนลิส ปิเมนเตล (Nellys Pimentel) ฟิลิปปินส์ ปาไซซิตี, ฟิลิปปินส์ 85

ทำเนียบ[แก้]

ปี มิสเอิร์ธ รองชนะเลิศ
มิสเอิร์ธแอร์
(รองอันดับ 1)
มิสเอิร์ธวอเตอร์
(รองอันดับ 2)
มิสเอิร์ธไฟเออร์
(รองอันดับ 3)
2023  แอลเบเนีย
ดรีตา ซีรี
 ฟิลิปปินส์
อีลีอานา อาดูอานา
 เวียดนาม
โด๋ ถิ ลาน อัญ
 ไทย
โคร่า เบียลท์
2022  เกาหลีใต้
มีนา ซู ชเว
 ออสเตรเลีย
เชอริแดน มอทร็อค
 ปาเลสไตน์
นาดีน อาย็อบ
 โคลอมเบีย
แอนเดรีย อาเกียเรียล่า
2021  เบลีซ
เดซทินี่ย์ แวคเนอร์
 สหรัฐ
มาริสา บัตเลอร์
 ชิลี
โรมินา เดเนคเก้น
 ไทย
จรีรัตน์ เพชรโสม
2020  สหรัฐ
ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์
 เวเนซุเอลา
สเตฟานี ซรีค
 ฟิลิปปินส์
ร็อกแซนน์ อัลลิสัน บาเยนส์
 เดนมาร์ก
มิชาลา รูบินสไตน์
2019  ปวยร์โตรีโก
เนลลีส์ พิเมนเทล
 สหรัฐ
เอมานี แดวิส
 เช็กเกีย
คลารา วาฟรุสโควา
 เบลารุส
อลิสา มัญโญนก
2018  เวียดนาม
เหงียน เฟือง คั้ญ
 ออสเตรีย
เมลานี แมเดอร์
 โคลอมเบีย
บาเลเรีย อาโยส
 เม็กซิโก
มาลิสซา ฟลอเรส
2017  ฟิลิปปินส์
กาเรน อิบัสโก †
 ออสเตรเลีย
นีนา โรเบิร์ตสัน
 โคลอมเบีย
ฆูลิอานา ฟรังโก
 รัสเซีย
ลาดา อากิโมวา
2016  เอกวาดอร์
กาเตริน เอสปิน
 โคลอมเบีย
มิเชล โกเมซ
 เวเนซุเอลา
สเตฟานี เดอ ซอร์ซี
 บราซิล
บรูนา ซานาร์โด (ถอนตัว)
 สหรัฐ
คอร์ริน สเตลลาคิส (แทน)
2015  ฟิลิปปินส์
อันเจเลีย อง
 ออสเตรเลีย
ดายันนา กราเกดา
 สหรัฐ
บริตทานี เพยน์
 บราซิล
ธีสซ่า ซิกเคิร์ต
2014  ฟิลิปปินส์
เจมี เฮร์เรลล์
 สหรัฐ
แอนเดรีย นิว
 เวเนซุเอลา
ไมรา โรดริเกซ
 รัสเซีย
อนาสตาเซีย ตรูโซวา
2013  เวเนซุเอลา
อาลิซ เอนริช
 ออสเตรีย
เคเทีย แวคเนอร์
 ไทย
ปุณิกา กุลสุนทรรัตน์ (ถูกปลด)
 เกาหลี
แคเธอรินา ชเว
2012  เช็กเกีย
แตเรซา ไฟก์โซวา
 ฟิลิปปินส์
สเตฟานี สเตฟาโนวิตซ์
 เวเนซุเอลา
ออสมาริเอล บียาโลโบส
 บราซิล
กามึลลา แบรนท์
2011  เอกวาดอร์
ออลกา อาลาวา
 บราซิล
ดรายลี เบนเน็ตโทน
 ฟิลิปปินส์
อาเธนา อิมพีเรียล
 เวเนซุเอลา
กาโรไลน์ เมดินา
2010  อินเดีย
นิโคล ฟาเรีย
 เอกวาดอร์
เจนนิเฟอร์ ปาซมิญโญ (ถอนตัว)
 ไทย
วรรษพร วัฒนากุล
 ปวยร์โตรีโก
เยดี บอสเกซ
 รัสเซีย
วิกตอเรีย ชูกินา (แทน)
2009  บราซิล
ลาริสซา รามอส
 ฟิลิปปินส์
แซนดรา ซีเฟอร์ต
 เวเนซุเอลา
เจสสิกา บาร์โบซา
 สเปน
อเลฆานดรา เอเชบาร์เรีย
2008  ฟิลิปปินส์
คาร์ลา เฮนรี
 แทนซาเนีย
มิเรียม โอเด็มบา
 เม็กซิโก
อาบิเกล เอลิซัลเด
 บราซิล
ทาเทียน อัลเวส
2007  แคนาดา
เจสซิกา ทริสโก
 อินเดีย
พูจา ชิตโกเปการ์
 เวเนซุเอลา
ซิลวานา ซานตาเอลลา
 สเปน
อังเฆลา โกเมซ
2006  ชิลี
อิล เอร์นันเดซ
 อินเดีย
อัมรุตา ปัตกี
 ฟิลิปปินส์
เคธี อันตาลัน
 เวเนซุเอลา
มาริอัน ปูเกลีย
2005  เวเนซุเอลา
อาเลกซานดรา บราอุน
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
อาเมล ซานตานา
 โปแลนด์
คาทาริซนา โบโรวิชซ์
 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
โจวานา มายาโนวิช
2004  บราซิล
ปริสซิลลา เมย์เรลลิส
 มาร์ตีนิก
มูริเอลล์ เซลิเมเน
 ตาฮีตี
คาฮายา ลูซาจ (สเตฟานี เลซาจ)
 ปารากวัย
ยานินา กอนซาเลซ
2003  ฮอนดูรัส
ดาเนีย ปรินซ์
 บราซิล
ปริสชิลา โปเลเซดู ซานโดนา
 คอสตาริกา
มาริอาเนลา เซเลโดน โบลาญโญส
 โปแลนด์
มาร์ตา มัตยาซิค
2002  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
เจลา กลาวอวิช (ถูกปลด)
 ยูโกสลาเวีย
สลัดจานา โบโซวิช
(เดิมที มิสเอิร์ธวอเตอร์)
 กรีซ
จูเลียนา แพทริเซีย ดรอสซู
(เดิมที มิสเอิร์ธไฟเออร์)
 ฟินแลนด์
เอลินา เฮอร์ฟ
(กลายเป็น มิสเอิร์ธไฟเออร์)
 เคนยา
วินเฟรด ออมเวควี (แทน)
ปี มิสเอิร์ธ รองชนะเลิศ
มิสเอิร์ธวินด์
(รองอันดับ 1)
มิสเอิร์ธวอเตอร์
(รองอันดับ 2)
มิสเอิร์ธไฟเออร์
(รองอันดับ 3)
2001  เดนมาร์ก
แคทารีนา ซเวนส์เซิน
 บราซิล
ซิโมเน เรจิส
 คาซัคสถาน
มาร์การิตา ครัชต์โซวา
 อาร์เจนตินา
ดานิเอลา สตูกัน

ทำเนียบมิสเอิร์ธ[แก้]

องค์กรมิสเอิร์ธ[แก้]

องค์กรมิสเอิร์ธ เป็นองค์การในปัจจุบันที่เป็นเจ้าของและดำเนินการประกวดมิสเอิร์ธ และมิสฟิลิปปินส์เอิร์ธ สำนักงานใหญ่อยู่ที่มะนิลา, ฟิลิปปินส์ โดยของเจ้าองค์การคือ Carousel Productions ประธานกองประกวดคนปัจจุบันคือ Ramon Monzon องค์การขายสิทธิทางโทรทัศน์ให้กับการประกวดในประเทศอื่น ๆ

ผู้ครองตำแหน่งองค์กรมิสเอิร์ธ[แก้]

ด้านล่างนี้เป็นรายนามผู้ครองตำแหน่งทั้งหมดขององค์กรมิสเอิร์ธในช่วงหลายปีที่ผ่านมา

ปี มิสเอิร์ธ ประเทศ มิสฟิลิปปินส์เอิร์ธ จังหวัด
2022 มีนา ซู ชเว ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Jenny Ramp ตาร์ลัก
2021 เดซทินี่ย์ แวคเนอร์  เบลีซ Naelah Alshorbaji ปารานาคิว
2020 ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์  สหรัฐ Roxanne Allison Baeyens บาเกียว
2019 เนลลีส์ พิเมนเทล  ปวยร์โตรีโก Janelle Tee ปาซิก
2018 เหงียน เฟือง คั้ญ  เวียดนาม Silvia Celeste Cortesi โรม
2017 กาเรน อิบัสโก †  ฟิลิปปินส์ Karen Ibasco มะนิลา
2016 กาเตริน เอสปิน  เอกวาดอร์ Loren Mar Artajos (แทน) ฮีลากังอีโลโคส
Kiara Giel Gregorio (ลาออก) ลอนดอน
Imelda Schweighart (ปลด) ปาลาวัน
2015 อันเจเลีย อง  ฟิลิปปินส์ Angelia Gabrena Ong มะนิลา
2014 เจมี เฮร์เรลล์  ฟิลิปปินส์ Jamie Herrell เซบู
2013 อาลิซ เอนริช  เวเนซุเอลา Angelee Claudette delos Reyes ซัมบาเลส
2012 แตเรซา ไฟก์โซวา  เช็กเกีย Stephany Dianne Stefanowitz มะนิลา
2011 ออลกา อาลาวา  เอกวาดอร์ Athena Mae Imperial เอาโรรา
2010 นิโคล ฟาเรีย  อินเดีย Kris Psyche Resus เคโซน
2009 ลาริสซา รามอส  บราซิล Sandra Inez Seifert คันลูรังเนโกรส
2008 คาร์ลา เฮนรี  ฟิลิปปินส์ Karla Paula Henry เซบู
2007 เจสซิกา ทริสโก  แคนาดา Jeanne Harn รีซัล
2006 อิล เอร์นันเดซ  ชิลี Catherine Untalan มะนิลา
2005 อาเลกซานดรา บราอุน  เวเนซุเอลา Genebelle Raagas ปัมปังกา
2004 ปริสซิลลา เมย์เรลลิส  บราซิล Tamera Marie Szijarto มะนิลา
2003 ดาเนีย ปรินซ์  ฮอนดูรัส Laura Marie Dunlap ปัมปังกา
2002 เจลา กลาวอวิช (ปลด)  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา April Ross Perez ตีโมกซัมบวงกา
วินเฟรด ออมเวควี (แทน)  เคนยา
2001 แคทารีนา ซเวนส์เซิน  เดนมาร์ก Carlene Aguilar มะนิลา

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. New York Times, World News (2003-10-30). "Afghanistan: Anti-Pageant Judges". The New York Times Company. สืบค้นเมื่อ 2009-01-03.
  2. News, Reuters (2004-10-25). "Miss Earth 2004 beauty pageant". China Daily. สืบค้นเมื่อ 2007-10-23. {{cite news}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  3. Palmero, Paul (June 18, 2005). "Pageant History". Pageant Almanac. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 12, 2008. สืบค้นเมื่อ January 7, 2008.{{cite news}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  4. Fullarton, Clair (May 15, 2008). "Beauty queen auctions dress". kilmarnock Standard, United Kingdom, Scottish & Universal Newspapers Limited. สืบค้นเมื่อ January 2, 2009.
  5. "Miss Earth 2007". ABS-CBN News. December 18, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-27. สืบค้นเมื่อ January 7, 2008.
  6. News Online, Reuters (October 8, 2004). "Contestants of Miss Earth 2004 beauty pageant". The Tribune India. สืบค้นเมื่อ December 15, 2007.
  7. Nkurunziza, Sam (March 30, 2008). "The most beautiful girl in the world". The Sunday Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 13, 2013. สืบค้นเมื่อ September 3, 2012.
  8. Gilbert, Julie (July 12, 2014). "Hamilton woman Amy Meisak is hoping to win Miss Earth 2014". Daily Record (Scotland). สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.
  9. Schuck, Lorraine (September 20, 2012). "Miss Earth winners work hand-in-hand" (PDF). Miss Earth Website. สืบค้นเมื่อ September 24, 2012.
  10. "Caerphilly beauty queen takes on the world". South Wales Argus. Gannett Company Newsquest Media (Southern) Ltd. September 18, 2013. สืบค้นเมื่อ July 30, 2022.
  11. Steinberg, Jessica. "Miss Earth pulls for Palestine". 3 November 2014. The Times of Israel. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.
  12. Sieczkowski, Cavan (December 4, 2011). "Miss Earth 2011 Crowned, Miss Ecuador Wins the Title". International Business Times. BT Media Inc. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.
  13. Borja, Tessa (October 17, 2007). "Jennifer Neves is Miss Earth Guam". Marianas Variety News, Guam Edition. สืบค้นเมื่อ September 10, 2008.
  14. Waddington, Sarah (September 19, 2014). "Plymouth engineering student hopes to "change the future" by competing for Miss Earth England". The Herald (Plymouth). สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.[ลิงก์เสีย]
  15. Bobby T., Yalong (January 4, 2016). "A haphazard scrutiny and pragmatic dissertation on Philippine pageantry". Asian Journal. สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.
  16. Macauley, Richard (November 24, 2015). "China's latest censorship battlefield is global beauty pageants". Quartz. Goldman Sachs. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]