จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน501,291
ผู้ใช้สิทธิ80.69 %
  First party Second party Third party
 
Jurin Laksanawisit 2009 (cropped).jpg
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
Prayut 2022.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ รวมไทยสร้างชาติ
เลือกตั้งล่าสุด 2 1 พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady เพิ่มขึ้น 1
คะแนนเสียง 85,774 115,305 42,976
% 22.72 30.55 11.38

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จะจัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งสิ้น 4 เขตเลือกตั้ง มีผู้ได้รับเลือกตั้งเขตละ 1 คน[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2562 1 เขต คู่ขนานไปกับการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ภาพรวม[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้ง[แก้]

แผนที่การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2566

จากมติของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2564 ได้กำหนดการเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มจากเดิม 350 คน เป็น 400 คน จังหวัดตรังมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเพิ่มขึ้นจาก 3 เขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 เป็น 4 เขตในการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยหนึ่งเขตเลือกตั้งจะมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้หนึ่งคน[1]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดตรัง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ใหม่ (1)
ประชาธิปไตยใหม่ (2)
เป็นธรรม (3)
ท้องที่ไทย (4)
พลังสังคมใหม่ (5)
ครูไทยเพื่อประชาชน (6)
ภูมิใจไทย (7)
แรงงานสร้างชาติ (8)
พลัง (9)
อนาคตไทย (10)
ประชาชาติ (11)
ไทยรวมไทย (12)
ไทยชนะ (13)
ชาติพัฒนากล้า (14)
กรีน (15)
พลังสยาม (16)
เสมอภาค (17)
ชาติไทยพัฒนา (18)
ภาคีเครือข่ายไทย (19)
เปลี่ยน (20)
ไทยภักดี (21)
รวมไทยสร้างชาติ (22)
รวมใจไทย (23)
เพื่อชาติ (24)
เสรีรวมไทย (25)
ประชาธิปัตย์ (26)
พลังธรรมใหม่ (27)
ไทยพร้อม (28)
เพื่อไทย (29)
ทางเลือกใหม่ (30)
ก้าวไกล (31)
ไทยสร้างไทย (32)
ไทยเป็นหนึ่ง (33)
แผ่นดินธรรม (34)
รวมพลัง (35)
เพื่อชาติไทย (36)
พลังประชารัฐ (37)
เพื่อไทรวมพลัง (38)
มิติใหม่ (39)
ประชาภิวัฒน์ (40)
ไทยธรรม (41)
ไทยศรีวิไลย์ (42)
พลังสหกรณ์ (43)
ราษฎร์วิถี (44)
แนวทางใหม่ (45)
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46)
รวมแผ่นดิน (47)
เพื่ออนาคตไทย (48)
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49)
พลังปวงชนไทย (50)
สามัญชน (51)
ชาติรุ่งเรือง (52)
พลังสังคม (53)
ภราดรภาพ (54)
ไทยก้าวหน้า (55)
ประชาไทย (56)
พลังเพื่อไทย (57)
สังคมประชาธิปไตยไทย (58)
ช่วยชาติ (59)
ความหวังใหม่ (60)
คลองไทย (61)
พลังไทรักชาติ (62)
ประชากรไทย (63)
เส้นด้าย (64)
เปลี่ยนอนาคต (65)
พลังประชาธิปไตย (66)
ไทยสมาร์ท (67)
บัตรดี
บัตรเสีย
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 501,732 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตรัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทยสร้างชาติ ถนอมพงศ์ หลีกภัย (2) 25,965 26.98
พลังประชารัฐ กิตติพงศ์ ผลประยูร (3) 21,018 21.84
ภูมิใจไทย รักษ์ บุญเจริญ (5) 19,172 19.92
ก้าวไกล ศุภกร สุวรรณหมัด (7) 17,683 18.37
ประชาธิปัตย์ ตุลกานต์ มักคุ้น (4) 7,095 7.37
เพื่อไทย สรวีย์ ภัทรอิสริยาไชย (6) 3,316 3.45
กรีน ยงยุทธ กูลเมือง (1) 447 0.46
ไทยสร้างไทย อนัญญา สวัสดิการ (9) 342 0.36
คลองไทย ประภัสสร นุ่มสวัสดิ์ (12) 270 0.28
เปลี่ยน นงค์ ดำหมาน (13) 257 0.27
เสรีรวมไทย มงคลสิษฐ์ มีสุข (8) 238 0.25
ไทยภักดี กฤตภาส สินไชย (10) 228 0.24
รวมแผ่นดิน เขมธนวัฒน์ ชูชาติวงศ์สกุล (11) 213 0.22
ผลรวม 96,244 100.00
บัตรดี 96,244 94.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,663 3.59
บัตรเสีย 2,137 2.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,067 84.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,231 100.00
รวมไทยสร้างชาติ ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวังวิเศษ อำเภอห้วยยอด และอำเภอรัษฎา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ทวี สุระบาล (6)✔ 63,185 64.04
ประชาธิปัตย์ สาทิตย์ วงศ์หนองเตย (2)* 17,239 17.47
ก้าวไกล ปรีชา ยอดยิ่ง (10) 10,553 10.70
รวมไทยสร้างชาติ กฤตินี รุณแสง (3) 2,803 2.84
เพื่อไทย สุริยะ นันตสินธุ์ (5) 1,510 1.53
ภูมิใจไทย โชติกา รักเมือง (1) 1,231 1.25
ไทยสร้างไทย ชรินทร์ ชูแก้ว (4) 660 0.67
รวมแผ่นดิน ชำนาญ ทองร่วง (9) 475 0.48
กรีน ธัญกานต์ แก้วการดี (7) 458 0.46
เสรีรวมไทย โยธิน ตุลยกุล (8) 237 0.24
เปลี่ยน สุรพล ปานแก้ว (12) 183 0.19
คลองไทย อมตวาทิต สมานกุล (11) 137 0.14
ผลรวม 98,665 100.00
บัตรดี 98,665 94.15
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,009 2.87
บัตรเสีย 3,126 2.98
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,800 80.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,596 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหาดสำราญ อำเภอปะเหลียน อำเภอนาโยง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ (2)* 31,846 37.07
ก้าวไกล วิราว์ รัตนกิจ (13) 16,483 19.19
พลังประชารัฐ นัทธพงศ์ ใจสมุทร (1) 14,866 17.30
รวมไทยสร้างชาติ อำนวย นวลทอง (5) 9,245 10.76
เพื่อไทย สไบทิพย์ ลิประพันธ์ (7) 5,864 6.83
ภูมิใจไทย เรือเอก พัฒน์พงษ์ คงผลาญ (6) 2,767 3.22
เสรีรวมไทย เกียรติกร กูมุดา (12) 976 1.13
พลังธรรมใหม่ อลงกรณ์ คงฉาง (3) 934 1.09
ไทยสร้างไทย บุญโชค สังขาว (8) 579 0.67
ไทยภักดี ศิริขวัญ ปั้นทอง (9) 491 0.57
เพื่อชาติ แทนคุณ แตรดอน (11) 455 0.53
กรีน พันตำรวจเอก อธิศ ภักดีนามฉวี (4) 418 0.49
เปลี่ยน สุกัญญา ช่วยด้วง (15) 382 0.44
แรงงานสร้างชาติ ชัยยุทธ รองเดช (10) 262 0.31
คลองไทย มูฮำมัดรุชดี เกปัน (16) 198 0.23
พลังปวงชนไทย ไสว กองแก้ว (14) 148 0.17
ผลรวม 85,914 100.00
บัตรดี 85,914 89.86
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,475 6.77
บัตรเสีย 3,223 3.77
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,612 77.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,965 100.00
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอสิเกา อำเภอกันตัง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ กาญจน์ ตั้งปอง (2) 29,594 30.62
ภูมิใจไทย ดิษฐ์ธนิน ภาคย์อิชณน์ (1) 29,202 30.21
พลังประชารัฐ พลตำรวจตรี บรรลือ ชูเวทย์ (4) 16,236 16.80
ก้าวไกล สุพรรษา มะเหร็ม (9) 11,237 11.63
รวมไทยสร้างชาติ สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (3)✔ 4,963 5.13
เพื่อไทย วิโรจน์ ทองโอเอี่ยม (10) 2,719 2.81
ไทยสร้างไทย วรสิทธิ์ จิเหลา (6) 962 1.00
พลังปวงชนไทย ดนเหลาะ เขาพรง (12) 415 0.43
เสรีรวมไทย ประจวบ เปโตรช่วย (7) 372 0.38
เปลี่ยน ณัฐกร หวันมุสา (13) 282 0.29
คลองไทย สุพรชัย พลฤทธิ์ (11) 267 0.28
เพื่อชาติไทย กัญญาภัทร ศรีประสิทธิ์ (6) 225 0.23
ไทยภักดี สมปอง ศรีคง (8) 186 0.19
ผลรวม 96,660 100.00
บัตรดี 96,660 94.77
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,555 2.72
บัตรเสีย 2,779 2.51
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,994 81.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,499 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]