จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,056,364
ผู้ใช้สิทธิ71.31%
  First party Second party Third party
 
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
Paethongtarn Shinawatra.png
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
พรรค ก้าวไกล เพื่อไทย พลังประชารัฐ
เลือกตั้งล่าสุด 0[a] 5 1
ที่นั่งที่ชนะ 8 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 8 ลดลง 5 ลดลง 1
คะแนนเสียง 344,633 165,495 17,691
% 44.54 21.39 2.29

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง
  •   พรรคก้าวไกล

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ[b]

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งสิ้น 8 เขตเลือกตั้ง มีผู้ได้รับเลือกตั้งเขตละ 1 คน[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2562 2 เขต คู่ขนานไปกับการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

เขตเลือกตั้ง[แก้]

จากมติของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2564 ได้กำหนดให้การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มจากเดิม 350 คน เป็น 400 คน เมื่อนำจำนวนประชากรมาคำนวณแล้ว ปรากฏว่าจังหวัดนนทบุรีมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเพิ่มขึ้นจาก 6 เขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 เป็น 8 เขตในการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้หนึ่งคน[2]

เขตเลือกตั้ง ท้องที่ที่ประกอบเป็นเขตเลือกตั้ง
เขต 1 · อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกระสอ ตำบลท่าทราย และตำบลบางเขน)
เขต 2 · อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางกร่าง และตำบลบางรักน้อย)
เขต 3 · อำเภอบางกรวย

· อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางไผ่)

เขต 4 · อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด)
เขต 5 · อำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด)

· อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลลำโพและตำบลละหาร)

· อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลไทรม้า)

เขต 6 · อำเภอบางใหญ่
เขต 7 · อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลพิมลราช ตำบลโสนลอย และตำบลบางบัวทอง)

· อำเภอไทรน้อย (เฉพาะตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง)

เขต 8 · อำเภอไทรน้อย (ยกเว้นตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง)

· อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด ตำบลบางรักพัฒนา และตำบลบางรักใหญ่)

แผนที่เขตเลือกตั้งจังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562
แผนที่เขตเลือกตั้งจังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566
การเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งในจังหวัดนนทบุรี

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ก้าวไกล 389,353 49.117
เพื่อไทย 168,401 21.244
รวมไทยสร้างชาติ 145,295 18.329
อื่น ๆ 89,652 11.310
ผลรวม 792,701 100.000
คะแนนเสียง
ก้าวไกล
  
49.117%
เพื่อไทย
  
21.244%
รวมไทยสร้างชาติ
  
18.329%
อื่น ๆ
  
11.310%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ก้าวไกล 8 344,633 44.535 8 เพิ่มขึ้น8 100.000
เพื่อไทย 8 165,495 21.386 0 ลดลง5 0.000
รวมไทยสร้างชาติ 8 165,403 21.374 0 Steady 0.000
ภูมิใจไทย 7 32,239 4.166 0 Steady 0.000
ประชาธิปัตย์ 8 24,114 3.116 0 Steady 0.000
พลังประชารัฐ 8 17,691 2.286 0 ลดลง1 0.000
ไทยสร้างไทย 5 11,168 1.443 0 Steady 0.000
เสรีรวมไทย 8 6,616 0.855 0 Steady 0.000
ไทยภักดี 8 3,345 0.432 0 Steady 0.000
ทางเลือกใหม่ 5 1,133 0.146 0 Steady 0.000
ชาติพัฒนากล้า 1 880 0.114 0 Steady 0.000
ไทยศรีวิไลย์ 1 433 0.056 0 Steady 0.000
มิติใหม่ 1 333 0.043 0 Steady 0.000
คลองไทย 1 279 0.036 0 Steady 0.000
พลังสังคม 1 88 0.011 0 Steady 0.000
ผลรวม 78 773,850 100.000 8 100.000
คะแนนเสียง
ก้าวไกล
  
44.535%
เพื่อไทย
  
21.386%
รวมไทยสร้างชาติ
  
21.374%
ภูมิใจไทย
  
4.166%
ประชาธิปัตย์
  
3.116%
พลังประชารัฐ
  
2.286%
อื่น ๆ
  
3.137%
ที่นั่ง
ก้าวไกล
  
100.000%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตเลือกตั้ง ก้าวไกล เพื่อไทย รวมไทยสร้างชาติ ภูมิใจไทย ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 45,615 45.30% 20,640 20.50% 28,166 27.97% 1,037 1.03% 1,473 1.46% 842 0.84% 2,925 2.90% 100,698 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 2 39,086 43.43% 19,423 21.58% 25,079 27.86% 1,520 1.69% 666 0.74% 4,232 4.70% 90,006 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 3 44,369 44.23% 17,148 17.10% 25,626 25.55% 774 0.77% 1,636 1.63% 3,361 3.35% 7,398 7.37% 100,312 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 4 36,249 37.63% 24,446 25.37% 25,442 26.41% 749 0.78% 1,395 1.45% 611 0.63% 2,425 2.66% 91,317 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 5 48,055 50.91% 19,897 21.08% 14,684 15.56% 2,145 2.27% 3,469 3.68% 4,618 4.89% 1,525 1.62% 94,393 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 6 48,169 47.71% 23,508 23.28% 24,252 24.02% 590 0.58% 1,454 1.44% 1,557 1.54% 1,428 1.41% 100,958 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 7 41,356 41.38% 16,098 16.11% 10,679 10.68% 12,854 12.86% 11,299 11.31% 5,567 5.57% 2,092 2.09% 100,958 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
เขต 8 41,734 43.37% 24,335 25.29% 11,475 11.93% 14,090 14.64% 1,868 1.94% 469 0.49% 2,250 2.34% 100,958 100.00% ก้าวไกล ได้ที่นั่ง
ผลรวม 344,633 44.54% 165,495 21.39% 165,403 21.37% 32,239 4.17% 24,114 3.12% 17,691 2.29% 24,275 3.14% 773,850 100.00%

คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อแบ่งตามเขตเลือกตั้ง[แก้]

เขตเลือกตั้ง ก้าวไกล เพื่อไทย รวมไทยสร้างชาติ อื่น ๆ ผลรวม พรรคที่ชนะ
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 49,104 47.55 19,656 19.03 22,643 21.93 11,872 11.49 103,275 100.00 ก้าวไกล
เขต 2 43,969 47.96 19,090 20.82 18,586 20.27 10,027 10.95 91,672 100.00 ก้าวไกล
เขต 3 51,929 50.60 19,197 18.71 19,490 18.99 12,004 11.70 102,620 100.00 ก้าวไกล
เขต 4 43,694 46.94 20,184 21.69 19,717 21.18 9,482 10.19 93,077 100.00 ก้าวไกล
เขต 5 48,985 49.97 19,936 20.34 17,757 18.11 11,354 11.58 98,032 100.00 ก้าวไกล
เขต 6 52,729 51.14 22,719 22.03 17,005 16.49 10,655 10.34 103,108 100.00 ก้าวไกล
เขต 7 51,015 50.13 22,545 22.16 15,245 14.98 12,952 12.73 101,757 100.00 ก้าวไกล
เขต 8 47,928 48.33 25,074 25.29 14,852 14.98 11,305 11.40 99,159 100.00 ก้าวไกล
ผลรวม 389,353 49.12 168,401 21.24 145,295 18.33 89,651 11.31 792,700 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดนนทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ก้าวไกล (31) 389,353 49.117
เพื่อไทย (29) 168,401 21.244
รวมไทยสร้างชาติ (22) 145,295 18.329
ประชาธิปัตย์ (26) 13,712 1.730
เสรีรวมไทย (25) 10,825 1.366
ไทยสร้างไทย (32) 8,925 1.126
ภูมิใจไทย (7) 8,793 1.109
ชาติพัฒนากล้า (14) 7,314 0.923
พลังประชารัฐ (37) 5,395 0.681
ไทยภักดี (21) 3,407 0.430
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 2,838 0.358
ชาติไทยพัฒนา (18) 2,805 0.354
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 2,141 0.270
ทางเลือกใหม่ (30) 2,046 0.258
ใหม่ (1) 1,507 0.190
แรงงานสร้างชาติ (8) 1,458 0.184
เปลี่ยน (20) 1,389 0.175
พลังสังคมใหม่ (5) 1,340 0.169
เพื่อชาติไทย (36) 1,269 0.160
ประชาชาติ (11) 1,203 0.152
พลัง (9) 1,157 0.146
ท้องที่ไทย (4) 872 0.110
ไทยพร้อม (28) 777 0.098
รวมใจไทย (23) 750 0.095
เป็นธรรม (3) 710 0.090
เพื่อชาติ (24) 688 0.087
ไทยรวมไทย (12) 686 0.087
พลังเพื่อไทย (57) 514 0.065
ไทยก้าวหน้า (55) 509 0.064
เพื่อไทรวมพลัง (38) 472 0.060
มิติใหม่ (39) 408 0.051
ไทยศรีวิไลย์ (42) 404 0.051
อนาคตไทย (10) 367 0.046
ไทยชนะ (13) 327 0.041
เส้นด้าย (64) 322 0.041
กรีน (15) 308 0.039
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 291 0.037
ประชากรไทย (63) 259 0.033
เปลี่ยนอนาคต (65) 257 0.032
สามัญชน (51) 253 0.032
พลังธรรมใหม่ (27) 251 0.032
ประชาไทย (56) 211 0.027
ประชาภิวัฒน์ (40) 207 0.026
รวมพลัง (35) 200 0.025
ราษฎร์วิถี (44) 155 0.020
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 146 0.018
ไทยสมาร์ท (67) 143 0.018
เสมอภาค (17) 137 0.017
แผ่นดินธรรม (34) 132 0.017
รวมแผ่นดิน (47) 113 0.014
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 110 0.014
คลองไทย (61) 103 0.013
ไทยธรรม (41) 100 0.013
ความหวังใหม่ (60) 95 0.012
พลังประชาธิปไตย (66) 94 0.012
เพื่ออนาคตไทย (48) 80 0.010
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 79 0.010
พลังสยาม (16) 76 0.010
พลังไทรักชาติ (62) 75 0.009
พลังสหกรณ์ (43) 72 0.009
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 72 0.009
แนวทางใหม่ (45) 66 0.008
พลังปวงชนไทย (50) 52 0.007
พลังสังคม (53) 51 0.006
ช่วยชาติ (59) 51 0.006
ชาติรุ่งเรือง (52) 42 0.005
ภราดรภาพ (54) 41 0.005
บัตรดี 792,700 96.281
บัตรเสีย 15,419 1.873
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 15,200 1.846
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 823,319 77.957
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,056,121 100.000

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกระสอ ตำบลท่าทราย และตำบลบางเขน)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1 ตามตำบล:
  สุรพันธ์
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 1

  สุรพันธ์ (56.13%)
  วิภาวัลย์ (16.96%)
  นิยม (16.87%)
  อื่น ๆ (10.04%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล สุรพันธ์ ไวยากรณ์ (5) 45,615 45.29 -
รวมไทยสร้างชาติ วิภาวัลย์ วรวรรณปรีชา (2) 28,166 27.97 +11.00
เพื่อไทย นิยม ประสงค์ชัยกุล (7) 20,640 20.49 -
ประชาธิปัตย์ วิชยุตม์ รอดศิลป์ (6) 1,473 1.46 -
ไทยสร้างไทย จริยา มหายศนันทน์ (3) 1,462 1.45 -20.37
ภูมิใจไทย เจริญ เรี่ยวแรง (1)* 1,037 1.02 -24.38
เสรีรวมไทย ธนดล เพชรบุรีกุล (8) 1,018 1.01 -1.38
พลังประชารัฐ สมบูรณ์วรรณ ตรีสินธุ์ไชย (4) 842 0.83 -
ไทยภักดี ธนวัฒน์ โพธิ์ศรี (10) 445 0.44 -
ทางเลือกใหม่ พลตำรวจเอก สนธิชัย สุวรรณศร (9)†[c]
ผลรวม 100,698 100.00
บัตรดี 100,698 94.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,105 3.83
บัตรเสีย 2,296 2.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 107,099 76.66
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,706 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางกร่าง และตำบลบางรักน้อย)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 2 ตามตำบล:
  ปัญญารัตน์
  •   30–40%
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 2

  ปัญญารัตน์ (55.20%)
  เฉลิมพล (17.34%)
  จิรพงษ์ (17.08%)
  อื่น ๆ (10.38%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ปัญญารัตน์ นันทภูษิตานนท์ (7) 39,086 43.42 -
รวมไทยสร้างชาติ เฉลิมพล นิยมสินธุ์ (5) 25,079 27.86 +11.36
เพื่อไทย จิรพงษ์ ทรงวัชราภรณ์ (8)* 19,423 21.57 -4.96
ไทยสร้างไทย วรวุฒิ ศรีนนท์ (6) 2,473 2.74 -
ประชาธิปัตย์ ธนินท์ธร ภูมราช (2) 1,520 1.68 -
พลังประชารัฐ จิรวรรณ เรี่ยวแรง (4) 666 0.73 -
ไทยภักดี อัญรินทร์ อิทธิศรีศักดิ์ (9) 640 0.71 -
เสรีรวมไทย ธนบดี อินทวีโร (3) 611 0.67 -
มิติใหม่ ชื่นประภา ขันธมาลี (1) 333 0.36 -
คลองไทย เหนือสุชา กองนิมิตรพัชรี (11) 103 0.11 -
ทางเลือกใหม่ ตฤณ สุวรรณศร (10) 72 0.07 -
ผลรวม 90,006 100.00
บัตรดี 90,006 94.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,388 3.55
บัตรเสีย 2,022 2.12
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,418 77.16
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,663 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอบางกรวยและอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางไผ่)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 3 ตามตำบล:
  อนุสรณ์
  •   40–50%
  พงษ์ศักดิ์
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 3

  อนุสรณ์ (57.79%)
  ปณรัศมิ์ (15.83%)
  พงษ์ศักดิ์ (14.27%)
  อื่น ๆ (12.11%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล อนุสรณ์ แก้ววิเชียร (3) 44,369 44.23 +21.15
รวมไทยสร้างชาติ พงษ์ศักดิ์ อัจฉริยะประสิทธิ์ (7) 25,626 25.54 -
เพื่อไทย ปณรัศม์ วันชาญเวช (5) 17,148 17.09 -
ไทยสร้างไทย อนุศักดิ์ เรืองชู (9) 5,334 5.31 -17.94
พลังประชารัฐ วัชระ กรรณิการ์ (8) 3,361 3.35 -
ประชาธิปัตย์ ณรงคภูมิ ยังสี (6) 1,636 1.63 -
เสรีรวมไทย กุลวัฒน์ กุลสังคหะ (1) 1,101 1.09 -
ภูมิใจไทย อิทธิพล คงพสิษฐ์พร (2) 774 0.77 +0.68
ทางเลือกใหม่ ราเชน ตระกูลเวียง (4) 367 0.36 -
ไทยภักดี จักรพันธ์ ยนต์ศิริ (11) 332 0.33 -
คลองไทย ชนัญชิดา ภัทราไพศาล (12) 176 0.17
พลังสังคม ธีระพงษ์ แก้ววิเศษ (10) 88 0.08 -
ผลรวม 100,310 100.00
บัตรดี 100,310 94.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,193 3.94
บัตรเสีย 2,004 1.88
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 106,509 79.90
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,303 100.00
ก้าวไกล ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 4 ตามตำบล:
  นพดล
  •   30–40%
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 4

  นพดล (54.28%)
  มนตรี (18.11%)
  วิรัตน์ (16.75%)
  อื่น ๆ (10.86%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล นพดล ทิพยชล (2) 36,249 39.69 -
รวมไทยสร้างชาติ วิรัตน์ บรรดาศักดิ์ (8) 25,442 27.86 +10.03
เพื่อไทย มนตรี ตั้งเจริญถาวร (5)* 24,446 26.77 -1.39
ประชาธิปัตย์ สุพรรษา เย็นเพ็ชร (6) 1,395 1.52 -
ไทยสร้างไทย ก้อง เพชรแก้ว (1) 850 0.93 -
ภูมิใจไทย ฉลอง เรี่ยวแรง (7)✔ 749 0.82 -24.58
พลังประชารัฐ เกียรติภัส จำปาทองวิรัตน์ (9) 611 0.66 -
เสรีรวมไทย สุกฤษฏิ์ ผ่องคำพันธุ์ (10) 579 0.63 -
ไทยศรีวิไลย์ พรทิพย์ อินทศรี (4) 433 0.47 -
ไทยภักดี สุวรรณา อู่ใหม่ (11) 282 0.30 -
ทางเลือกใหม่ อำนวย สุขขี (3) 281 0.30 +0.17
ผลรวม 91,317 100.00
บัตรดี 91,317 94.78
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,454 3.59
บัตรเสีย 1,571 1.63
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,342 75.96
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,833 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด) อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลลำโพและตำบลละหาร) และอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลไทรม้า)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 5 ตามตำบล:
  ปรีติ
  •   30–40%
  •   40–50%
  •   50% ขึ้นไป

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 5

  ปรีติ (62.30%)
  นพดล (14.20%)
  ณรงค์ (13.74%)
  อื่น ๆ (9.76%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ปรีติ เจริญศิลป์ (1) 48,055 50.90 -
เพื่อไทย นพดล แก้วสุพัฒน์ (6)** 19,897 21.07 -
รวมไทยสร้างชาติ ณรงค์ จันทนดิษฐ (2)✔ 14,684 15.55 -5.81
พลังประชารัฐ พลวัตร บรรดาศักดิ์ (3) 4,618 4.89 -
ประชาธิปัตย์ ธนิต สุขทอง (4) 3,469 3.67 -
ภูมิใจไทย ปารมี เรี่ยวแรง (7) 2,145 2.27 -
เสรีรวมไทย ก้องเกียรติ จั่นเพิ้ง (8) 856 0.90 -
ไทยภักดี พกาวรรณ ทิมดี (9) 669 0.70 -
ทางเลือกใหม่ ณัฏฐ์ ปฐมพัณณณัฐ (5)†[d]
ผลรวม 94,393 100.00
บัตรดี 94,393 92.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,570 4.48
บัตรเสีย 2,953 2.90
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,916 77.85
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,913 100.00
ก้าวไกล ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอบางใหญ่

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 6 ตามตำบล:
  คุณากร
  •   40–50%
  •   50% ขึ้นไป
  ณัฐวัฒน์
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 6

  คุณากร (58.58%)
  มานะศักดิ์ (19.66%)
  ณัฐวัฒน์ (13.23%)
  อื่น ๆ (8.53%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล คุณากร มั่นนทีรัย (1) 48,169 47.71 -
รวมไทยสร้างชาติ ณัฐวัฒน์ เอี่ยมแย้ม (2) 24,252 24.02 -
เพื่อไทย มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ (6)* 23,508 23.28 -2.94
พลังประชารัฐ สามารถ เจริญนนทสิทธิ์ (5) 1,557 1.54 -
ประชาธิปัตย์ สรเดช คลังทอง (3) 1,454 1.44 -
เสรีรวมไทย พันธวัชร บรรจงศิริเจริญ (4) 785 0.77 -
ภูมิใจไทย กฤษณะ แจ่มจันทร์ (7) 590 0.58 -
ไทยภักดี ณรงค์ โต๊ะมุดบำรุง (9) 467 0.46 -
ทางเลือกใหม่ ศักดิ์ชัย พัฒนะ (8) 176 0.17 -
ผลรวม 100,958 100.00
บัตรดี 100,958 94.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,983 3.72
บัตรเสีย 2,252 2.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 107,193 79.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 135,106 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลพิมลราช ตำบลโสนลอย และตำบลบางบัวทอง) และอำเภอไทรน้อย (เฉพาะตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 7 ตามตำบล:
  เกียรติคุณ
  •   30–40%
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 7

  เกียรติคุณ (57.62%)
  ภูดิศ (15.13%)
  จำลอง (10.78%)
  อื่น ๆ (16.46%)
เขตเลือกตั้งที่ 7 มีทั้งหมด 159 หน่วยเลือกตั้ง โดยเกียรติคุณ ต้นยาง มีจำนวนหน่วยเลือกตั้งที่มีคะแนนนำมากที่สุดถึง 138 หน่วยเลือกตั้ง รองลงมาคือ สมศักดิ์ ด้วงโสน 10 หน่วยเลือกตั้ง วิเชียร เจริญนนทสิทธิ์ 7 หน่วยเลือกตั้ง และทศพล เพ็งส้ม 3 หน่วยเลือกตั้ง แต่มีหนึ่งหน่วยเลือกตั้งที่มีคะแนนเสมอกัน คือ หน่วยเลือกตั้งที่ 3 ท้องที่เทศบาลตำบลไทรน้อย ซึ่งเกียรติคุณและสมศักดิ์ได้คะแนนเสมอกัน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล เกียรติคุณ ต้นยาง (7) 41,356 41.37 -
เพื่อไทย ภูดิศ นนทพิมลชัย (8)[e] 16,098 16.10 -
ภูมิใจไทย วิเชียร เจริญนนทสิทธิ์ (9) 12,854 12.86 -
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ ด้วงโสน (6) 11,299 11.30 -
รวมไทยสร้างชาติ จำลอง ช่วยรอด (2) 10,679 10.68 -9.56
พลังประชารัฐ ทศพล เพ็งส้ม (1)✔ 5,567 5.57 -19.95
ชาติพัฒนากล้า มลฤดี ปุริเส (3) 880 0.88 -
เสรีรวมไทย เดชาวัจน์ รดีฉัตรภิรมย์ (5) 748 0.74 -
ทางเลือกใหม่ ประดิษฐ์ แน่วแน่ (4) 236 0.23 -
ไทยภักดี กิตติมา เลิศสกุลทอง (10) 227 0.22 -
ผลรวม 99,945 100.00
บัตรดี 99,945 94.60
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,354 3.17
บัตรเสีย 2,356 2.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,655 78.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 134,546 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย
ผู้สมัคร จำนวนหน่วยเลือกตั้งที่ชนะ รวม ร้อยละ
เทศบาลเมืองพิมลราช เทศบาลเมืองบางบัวทอง เทศบาลเมืองใหม่บางบัวทอง เทศบาลตำบลไทรน้อย อบต.ไทรน้อย อบต.คลองขวาง
เกียรติคุณ 44 19 48 24 3 138 86.79
สมศักดิ์ 2 2 3 3 10 6.29
วิเชียร 1 1 5 7 4.40
ทศพล 1 2 3 1.89
เสมอ 1 1 0.63
รวม 46 22 55 3 27 6 159 100.00

เขต 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอไทรน้อย (ยกเว้นตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด ตำบลบางรักพัฒนา และตำบลบางรักใหญ่)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 8 ตามตำบล:
  นนท์
  •   30–40%
  •   40–50%
  ภณณัฏฐ์
  •   30–40%
  •   40–50%
  •   50% ขึ้นไป
268x268px

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 8

  นนท์ (59.14%)
  ภณณัฏฐ์ (16.05%)
  สิริภิญญ์ (11.69%)
  อื่น ๆ (13.12%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล นนท์ ไพศาลลิ้มเจริญกิจ (3) 41,734 43.37 -
เพื่อไทย ภณณัฏฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์ (4)* 24,335 25.29 -3.32
ภูมิใจไทย วันชัย เจริญนนทสิทธิ์ (6)* 14,090 14.64 -11.49
รวมไทยสร้างชาติ สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ (2) 11,475 11.92 +11.08
ประชาธิปัตย์ สมภพ อุมะวิชนี (7) 1,868 1.94 -
ไทยสร้างไทย สุธี ทองสวัสดิ์ (1) 1,049 1.09 -
เสรีรวมไทย พิศิษฐ์ ทิมดี (5) 918 0.95 -
พลังประชารัฐ ปราโมทย์ พันธุเกตุ (11) 469 0.48 -25.03
ไทยภักดี เฉลิมเกียรติ พ่วงฉิม (10) 283 0.29 -
ทางเลือกใหม่ สิบตำรวจโท สมชาย ศรีเย็น (8)†[f]
พลังสังคม รัฐศิลป์ นลินธนาพัฒน์ (9)†[g]
ผลรวม 96,221 100.00
บัตรดี 96,221 93.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,895 3.77
บัตรเสีย 3,080 2.98
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,196 78.10
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,133 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เชิงอรรถ[แก้]

  1. จำนวนที่นั่งเดิมของพรรคก้าวไกล เปรียบเทียบจากจำนวนที่นั่งที่พรรคอนาคตใหม่เคยได้รับ
  2. ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 ประยุทธ์เป็นผู้ที่พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่เขามิได้เป็นสมาชิกพรรคดังกล่าว ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 เขาได้สมัครเป็นสมาชิกพรรครวมไทยสร้างชาติ
  3. ถูกตัดสิทธิ์การสมัครเนื่องจากมีคุณสมบัติต้องห้ามตามมาตรา 35 (2)[3]
  4. ถูกตัดสิทธิ์การสมัครเนื่องจากมีคุณสมบัติต้องห้ามตามมาตรา 35 (2)[3]
  5. ได้สมัครรับเลือกตั้งแทนจำลอง ขำสา ผู้สมัครเดิมซึ่งถอนการรับสมัครรับเลือกตั้ง[4]
  6. ถูกตัดสิทธิ์การสมัครเนื่องจากมีคุณสมบัติต้องห้ามตามมาตรา 35 (2)[3]
  7. ถูกตัดสิทธิ์การสมัครเนื่องจากมีคุณสมบัติต้องห้ามตามมาตรา 35 (2)[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.
  2. "กกต.ประกาศ "จำนวน ส.ส.- แบ่งเขตเลือกตั้ง 400 เขต"". ThaiPBS.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "กกต.นนทบุรี ตัดสิทธิ 4 ผู้สมัครส.ส. เหตุไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ครั้งล่าสุด". มติชน.
  4. ""จำลอง ขำสา" ผู้สมัคร ส.ส.เขต 7 นนทบุรี ขาดคุณสมบัติ". ThaiPBS.