ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาไปวัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาไปวัน
Vinuculjan, Pinayuanan
ออกเสียง[vinutsuʎan]
ประเทศที่มีการพูดไต้หวัน
ชาติพันธุ์ชาวไปวัน 96,000 คน (2014)[1]
จำนวนผู้พูด15,000 คน  (2008)[2]
ตระกูลภาษา
ออสโตรนีเซียน
  • ภาษาไปวัน
ระบบการเขียนอักษรละติน (ชุดตัวอักษรไปวัน)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ ไต้หวัน[3]
รหัสภาษา
ISO 639-3pwn
บริเวณที่มีผู้พูดภาษาไปวัน (เขียวเข้ม, ทางใต้)
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาไปวัน เป็นiภาษาพื้นเมืองของชาวไปวัน ชนพื้นเมืิิองในไต้หวัน ภาษาไปวันเป็นภาษาฟอร์โมซาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และเป็นหนึ่งในภาษาประจำชาติของไต้หวัน[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Amis Remains Taiwan's Biggest Aboriginal Tribe at 37.1% of Total". Focus Taiwan (ภาษาอังกฤษ). CNA. February 15, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-16.
  2. ภาษาไปวัน ที่ Ethnologue (25th ed., 2022) Closed access
  3. 3.0 3.1 Yuánzhùmínzú yǔyán fāzhǎn fǎ 原住民族語言發展法 [Indigenous Languages Development Act] (PDF) (ภาษาจีน), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-03-27, สืบค้นเมื่อ 2024-04-26 – โดยทาง Lìfayuan quanqiu falu zixun wang

ข้อมูล

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]