ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016
بطولة آسيا تحت 19 سنة لكرة القدم 2016 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | บาห์เรน |
วันที่ | 13–30 ตุลาคม พ.ศ. 2559 |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ญี่ปุ่น (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | ซาอุดีอาระเบีย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 31 |
จำนวนประตู | 84 (2.71 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 39,304 (1,268 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Sami Al-Najai Abdulrahman Al-Yami (คนละ 4 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | Ritsu Doan |
การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 39 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี จากแต่ละชาติสมาชิกของพวกเขา ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นในประเทศบาห์เรน ตามประกาศของ เอเอฟซี เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558[1][2] การแข่งขันในปัจจุบันมีกำหนดที่จะลงเล่นระหว่างวันที่ 13–30 ตุลาคม พ.ศ. 2559[3] ทั้งหมด 16 ทีมที่ได้ลงเล่นในทัวร์นาเมนต์
สี่ทีมที่เข้ารอบรองชนะเลิศของการแข่งขันจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 ในเกาหลีใต้ ขณะที่เกาหลีใต้จะได้คุณสมบัติอัตโนมัติสำหรับฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 ในฐานะเจ้าภาพ หากพวกเขาติดอันดับหนึ่งในสี่ของการแข่งขัน ทีมอันดับที่ห้า (กล่าวคือ การเป็นผู้แพ้รอบก่อนรองชนะเลิศที่มีสถิติดีที่สุดในทัวร์นาเมนต์) ก็จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017
รอบคัดเลือก
[แก้]การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกมีขึ้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558[4] ทั้งหมด 43 ทีมที่ถูกจับสลากอยู่ในสิบกลุ่ม กับทีมชนะเลิศสิบกลุ่มและห้าทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดในการคัดเลือกสำหรับรอบสุดท้าย ร่วมกับบาห์เรนที่ได้สิทธิ์อัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ แต่ยังจะต้องแข่งขันในรอบคัดเลือก
รอบคัดเลือกจะลงเล่นระหว่างวันที่ 28 กันยายน–6 ตุลาคม พ.ศ. 2558[5]
ทีมที่เข้ารอบ
[แก้]ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย
ทีม | ในฐานะ | การลงสนามครั้งล่าสุด | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|
บาห์เรน | เจ้าภาพ | ครั้งที่ 8 | รองชนะเลิศ (1986) |
ญี่ปุ่น | กลุ่ม เจ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 33 | รองชนะเลิศ (1973, 1994, 1998, 2000, 2002, 2006) |
อิรัก | กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 17 | ชนะเลิศ (1975, 1977, 1978, 1988, 2000) |
จีน | กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 16 | ชนะเลิศ (1985) |
เวียดนาม | กลุ่ม จี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 7 | อันดับที่ 3 (1964) |
อุซเบกิสถาน | กลุ่ม เอ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 7 | รองชนะเลิศ (2008) |
เกาหลีใต้ | กลุ่ม เอช ชนะเลิศ | อันดับที่ 34 | ชนะเลิศ (1959, 1960, 1963, 1978, 1980, 1982, 1990, 1996, 1998, 2002, 2004, 2012) |
ทาจิกิสถาน | กลุ่ม เอฟ (ดีที่สุด อันดับที่ 1) รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 3 | รอบแบ่งกลุ่ม (2006, 2008) |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | กลุ่ม ซี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 13 | ชนะเลิศ (2008) |
ออสเตรเลีย | กลุ่ม เจ (ดีที่สุด อันดับที่ 2) รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 6 | รองชนะเลิศ (2010) |
กาตาร์ | กลุ่ม ดี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 13 | ชนะเลิศ (2014) |
ไทย | กลุ่ม เอช (ดีที่สุด อันดับที่ 3) รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 27 | ชนะเลิศ (1962, 1969) |
ซาอุดีอาระเบีย | กลุ่ม บี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 12 | ชนะเลิศ (1986, 1992) |
เกาหลีเหนือ | กลุ่ม ไอ (ดีที่สุด อันดับที่ 4) รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 12 | ชนะเลิศ (1976, 2006, 2010) |
อิหร่าน | กลุ่ม อี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 18 | ชนะเลิศ (1973, 1974, 1975, 1976) |
เยเมน | กลุ่ม บี (ดีที่สุด ครั้งที่ 5) รองชนะเลิศ | ครั้งที่ 5 | รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2008, 2010, 2014) |
สนามแข่งขัน
[แก้]การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนาม:
ริฟฟา | ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 (บาห์เรน) |
---|---|
สนามกีฬาแห่งชาติบาห์เรน | |
ความจุ: 30,000 | |
อิซา ทาวน์ | |
สนามกีฬาเมืองกีฬาคาลิฟา | |
ความจุ: 20,000 |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากรอบสุดท้ายจะมีขึ้นในวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 2016 ในเมืองมานามา ประเทศบาห์เรน.
โถ 1 (เจ้าภาพ และ ทีมวาง) | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
บาห์เรน (เจ้าภาพ; ตำแหน่ง เอ1) |
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]แชมป์และรองแชมป์กลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บาห์เรน (H, A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 6 | +1 | 6 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ซาอุดีอาระเบีย (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 4 | +4 | 6 | |
3 | เกาหลีใต้ (E) | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 4 | +2 | 6 | |
4 | ไทย (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 10 | −7 | 0 |
กฏการจัดอันดับ: กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ
ไทย | 1–3 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
อานนท์ 76' | รายงาน | Jeong Tae-wook 13' Han Chan-hee 41' Kang Ji-hoon 90+3' |
บาห์เรน | 3–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
M.Marhoon 41' M.Yusuf 49' (ลูกโทษ) A.Mohamed 90+4' |
รายงาน | Al Anaze 56' Al Naji 80' (ลูกโทษ) |
ซาอุดีอาระเบีย | 4–0 | ไทย |
---|---|---|
Al-Anaze 43' Al-Muwallad 60' Al-Khulaif 68' Ghareeb 90+3' |
รายงาน |
เกาหลีใต้ | 2–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
Cho Young-wook 84', 90+2' | รายงาน | Ebrahim 56' |
เกาหลีใต้ | 1–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
Kim Geun-jung 32' | รายงาน | Al-Najai 38' Al-Amri 64' |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิรัก | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 0 | +5 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เวียดนาม | 3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 2 | +1 | 5 | |
3 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | |
4 | เกาหลีเหนือ | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
เกาหลีเหนือ | 1–2 | เวียดนาม |
---|---|---|
Ryang Hyon-ju 90+2' | รายงาน | Chinh 71' Hậu 90+1' |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 0–1 | อิรัก |
---|---|---|
รายงาน | Kareem 26' |
เกาหลีเหนือ | 1–3 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
Han Kwang-song 8' | รายงาน | Rashid 31' Al-Matroushi 52' Yaqoob 77' |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 2 | 1 | 0 | 6 | 0 | +6 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | อิหร่าน | 3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 1 | +1 | 5 | |
3 | กาตาร์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 4 | −2 | 4 | |
4 | เยเมน | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 5 | −5 | 0 |
กาตาร์ | 1–1 | อิหร่าน |
---|---|---|
Razzaghpour 38' (เข้าประตูตัวเอง) | รายงาน | Razzaghpour 58' |
เยเมน | 0–1 | อิหร่าน |
---|---|---|
รายงาน | Razzaghpour 45' |
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อุซเบกิสถาน (A) | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 3 | +2 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ทาจิกิสถาน | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 2 | +1 | 4 | |
3 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
4 | จีน (E) | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 3 | −3 | 1 |
กฏการจัดอันดับ: กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ
อุซเบกิสถาน | 2–1 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
Davlatjonov 67' Yakhshiboev 72' |
รายงาน | Saidov 20' |
จีน | 0–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน | Shabow 46' |
ทาจิกิสถาน | 2–0 | จีน |
---|---|---|
Panshanbe 3' Hamroqulov 65' |
รายงาน |
ออสเตรเลีย | 2–3 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
Youlley 64' (ลูกโทษ) Blackwood 90+5' (ลูกโทษ) |
รายงาน | Abdukhalikov 28' Ibrokhimov 39', 46' |
อุซเบกิสถาน | 0–0 | จีน |
---|---|---|
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]ในรอบแพ้คัดออก, ต่อเวลาพิเศษ และ การยิงจุดโทษตัดสิน เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบ 8 ทีม | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
23 ตุลาคม – ริฟฟา | ||||||||||
บาห์เรน | 0 | |||||||||
27 ตุลาคม – ริฟฟา | ||||||||||
เวียดนาม | 1 | |||||||||
เวียดนาม | 0 | |||||||||
24 ตุลาคม – ริฟฟา | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 3 | |||||||||
ญี่ปุ่น | 4 | |||||||||
30 ตุลาคม – ริฟฟา | ||||||||||
ทาจิกิสถาน | 0 | |||||||||
ญี่ปุ่น (ลูกโทษ) | 0 (5) | |||||||||
23 ตุลาคม – อิซา ทาวน์ | ||||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 0 (3) | |||||||||
อิรัก | 2 (5) | |||||||||
27 ตุลาคม – อิซา ทาวน์ | ||||||||||
ซาอุดีอาระเบีย (ลูกโทษ) | 2 (6) | |||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 6 | |||||||||
24 ตุลาคม – อิซา ทาวน์ | ||||||||||
อิหร่าน | 5 | |||||||||
อุซเบกิสถาน | 0 | |||||||||
อิหร่าน | 2 | |||||||||
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
[แก้]ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017.
อิรัก | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
Abed 75' Fayad 79' |
รายงาน | Al-Anaze 65' Al-Yami 69' |
ลูกโทษ | ||
Habeeb M. Kareem Abed Fayad Hasan Abdulnabi Abdullah |
5–6 | Al-Dawsari Ghareeb Al-Yami Al-Amri Al-Najai Zabbani Al-Saluli |
อุซเบกิสถาน | 0–2 | อิหร่าน |
---|---|---|
รายงาน | Jafari 14', 47' |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ซาอุดีอาระเบีย | 6–5 | อิหร่าน |
---|---|---|
Al-Najai 18' (ลูกโทษ), 51' Al-Khulaif 42' A. Al-Yami 45+1', 64', 76' |
รายงาน | Jafari 45' Aghasi 45+3' Shekari 62' Mehdikhani 75' Karamolachaab 83' |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]ญี่ปุ่น | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
Sakai Doan Endo Nakayama Ogawa |
5–3 | Al-Dawsari Kariri A. Al-Yami Magrashi |
อันดับผู้ทำประตู
[แก้]- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- George Blackwood
- Mario Shabow
- Liam Youlley
- Talal Al Naar
- Ahemd Bughammar
- Sayed Ebrahim
- Mohamed Marhoon
- Ahmed Mohamed
- Aref Aghasi
- Reza Karamolachaab
- Mehdi Mehdikhani
- Reza Shekari
- Sajjad Abed
- Alaa Abbas Abdulnabi
- Ritsu Doan
- Teruki Hara
- Takeru Kishimoto
- Koji Miyoshi
- Takehiro Tomiyasu
- Han Kwang-song
- Ryang Hyon-ju
- Abdulrasheed Umaru
- Abdulelah Al-Amri
- Mansour Al-Muwallad
- Abdulrahman Ghareeb
- Han Chan-hee
- Jeong Tae-wook
- Kang Ji-hoon
- Kim Geun-jung
- Nuriddin Hamroqulov
- Ehsoni Panshanbe
- Karomatullo Saidov
- อานนท์ อมรเลิศศักดิ์
- ศุภชัย ใจเด็ด
- สิทธิโชค ภาโส
- Faisal Al Matroushi
- Ahmed Rashid Almehrzi
- Husain Abdulla Omar
- Jassim Yaqoob
- Bobur Abdukhalikov
- Sayidjamol Davlatjonov
- Jasurbek Yakhshiboev
- Hà Đức Chinh
- Hồ Minh Dĩ
- Đoàn Văn Hậu
- Trần Thành
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
- Abolfazl Razzaghpour (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
อันดับหลังจบการแข่งขัน
[แก้]As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานในรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 6 | 4 | 2 | 0 | 13 | 0 | +13 | 14 | ชนะเลิศ |
2 | ซาอุดีอาระเบีย | 6 | 3 | 2 | 1 | 16 | 11 | +5 | 11 | รองชนะเลิศ |
3 | อิหร่าน | 5 | 2 | 2 | 1 | 9 | 7 | +2 | 8 | รอบรองชนะเลิศ |
4 | เวียดนาม | 5 | 2 | 2 | 1 | 4 | 5 | −1 | 8 | |
5 | อิรัก | 4 | 2 | 2 | 0 | 7 | 2 | +5 | 8 | ตกรอบใน รอบ 8 ทีมสุดท้าย |
6 | อุซเบกิสถาน | 4 | 2 | 1 | 1 | 5 | 5 | 0 | 7 | |
7 | บาห์เรน (H) | 4 | 2 | 0 | 2 | 7 | 7 | 0 | 6 | |
8 | ทาจิกิสถาน | 4 | 1 | 1 | 2 | 3 | 6 | −3 | 4 | |
9 | เกาหลีใต้ | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 4 | +2 | 6 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | |
11 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
12 | กาตาร์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 4 | −2 | 4 | |
13 | จีน | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 3 | −3 | 1 | |
14 | เยเมน | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 5 | −5 | 0 | |
15 | ไทย | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 10 | −7 | 0 | |
16 | เกาหลีเหนือ | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
(H) เจ้าภาพ
ทีมที่เข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี
[แก้]ห้าทีมต่อไปนี้มาจากเอเอฟซีได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017. เกาหลีใต้เข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ.
ทีม | วันที่ผ่านเข้ารอบ | การลงสนามที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1 |
---|---|---|
เกาหลีใต้ | 5 ธันวาคม 2556 | 13 (1979, 1981, 1983, 1991, 1993, 1997, 1999, 2003, 2005, 2007, 2009, 2011, 2013) |
ซาอุดีอาระเบีย | 23 ตุลาคม 2559 | 7 (1985, 1987, 1989, 1993, 1999, 2003, 2011) |
เวียดนาม | 23 ตุลาคม 2559 | 0 (เปิดตัวครั้งแรก) |
ญี่ปุ่น | 24 ตุลาคม 2559 | 8 (1979, 1995, 1997, 1999, 2001, 2003, 2005, 2007) |
อิหร่าน | 24 ตุลาคม 2559 | 2 (1977, 2001) |
- 1 ตัวหนา บ่งบอกถึงแชมป์ในปีนั้น. ตัวเอียง บ่งบอกถึงเจ้าภาพในปีนั้น.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC U-19 Championship 2016 to be hosted by Bahrain". AFC. 3 มิถุนายน 2015.
- ↑ "India confirmed as hosts of AFC U-16 championships". Firstpost.com. สืบค้นเมื่อ 2015-06-02.
- ↑ "AFC Calendar of Competitions 2016 - 2018" (PDF). AFC.
- ↑ "Champions Qatar learn Bahrain 2016 qualifying opponents". AFC. 5 มิถุนายน 2015.
- ↑ "AFC Calendar of Competitions 2015" (PDF). AFC.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC U-19 Championship, the-AFC.com