ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017
2017년 FIFA U-20 월드컵
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพเกาหลีใต้
ทีม24 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ อังกฤษ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ เวเนซุเอลา
อันดับที่ 3 อิตาลี
อันดับที่ 4 อุรุกวัย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
จำนวนประตู140 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม410,795 (7,900 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิตาลี Riccardo Orsolini
(5 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอังกฤษ Dominic Solanke[1]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอังกฤษ Freddie Woodman[1]
รางวัลแฟร์เพลย์ เม็กซิโก[1]
2015
2019

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 (อังกฤษ: 2017 FIFA U-20 World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับเยาวชนระหว่างประเทศ ครั้งที่ 21 ซึ่งมีกำหนดจัดขึ้นที่ประเทศเกาหลีใต้ ใน พ.ศ. 2560

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

มี 12 ประเทศเสนอตัวเป็นเจ้าภาพและประกาศผลในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556:[2]

สนามที่ใช้แข่งขัน[แก้]

ช็อนอัน แทจ็อน อินชอน
สนามกีฬาช็อนอัน แทจ็อนเวิลด์คัพสเตเดียม สนามกีฬาฟุตบอลอินชอน
ความจุ: 26,000 ความจุ: 40,535 ความจุ: 20,891
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 (เกาหลีใต้)
เชจู ช็อนจู ซูว็อน
เชจูเวิลด์คัพสเตเดียม ชอนจูเวิลด์คัพสเตเดียม ซูวอนเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 35,657 ความจุ: 42,477 ความจุ: 43,959

ทีมที่เข้าร่วม[แก้]

In addition to host nation Korea Republic, 23 nations will qualify from 6 separate continental competitions.

สมาพันธ์ ทัวร์นาเมนต์ที่ผ่านเข้ารอบ Qualifier(s)
เอเอฟซี (เอเชีย) ชาติเจ้าภาพ  เกาหลีใต้
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016  อิหร่าน
 ญี่ปุ่น
 ซาอุดีอาระเบีย
 เวียดนาม1
ซีเอเอฟ (แอฟริกา) ฟุตบอลแอฟริกาเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017  กินี
 เซเนกัล
 แอฟริกาใต้
 แซมเบีย
คอนคาแคฟ
(อเมริกากลาง, อเมริกาเหนือ และ แคริบเบียน)
ฟุตบอลคอนคาแคฟเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017  คอสตาริกา
 ฮอนดูรัส
 เม็กซิโก
 สหรัฐ
คอนเมบอล (อเมริกาใต้) ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้เยาวชนปี 2017  อาร์เจนตินา
 เอกวาดอร์
 อุรุกวัย
 เวเนซุเอลา
โอเอฟซี (โอเชียเนีย) ฟุตบอลโอเชียเนียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2016  นิวซีแลนด์
 วานูวาตู1
ยูฟ่า (ยุโรป) ฟุตบอลยุโรปเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016  อังกฤษ
 ฝรั่งเศส
 เยอรมนี
 อิตาลี
 โปรตุเกส
1. ^ Teams that will make their debut.

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, KST (UTC+9).[5]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อังกฤษ 3 2 1 0 5 1 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีใต้ (H) 3 2 0 1 5 2 +3 6
3  อาร์เจนตินา 3 1 0 2 6 5 +1 3 เป็นไปได้ในรอบแพ้คัดออก
4  กินี 3 0 1 2 1 9 −8 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
เกาหลีใต้ 3–0 กินี
Lee Seung-woo Goal 36'
Lim Min-hyeok Goal 76'
Paik Seung-ho Goal 81'
รายงาน

อังกฤษ 1–1 กินี
Cook Goal 53' รายงาน Tomori Goal 59' (เข้าประตูตัวเอง)

อังกฤษ 1–0 เกาหลีใต้
Dowell Goal 56' รายงาน
กินี 0–5 อาร์เจนตินา
รายงาน Torres Goal 33'
La. Martínez Goal 43'79'
Zaracho Goal 50'
Senesi Goal 74'

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เวเนซุเอลา 3 3 0 0 10 0 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2  เม็กซิโก 3 1 1 1 3 3 0 4
3  เยอรมนี 3 1 1 1 3 4 −1 4 เป็นไปได้ในรอบแพ้คัดออก
4  วานูวาตู 3 0 0 3 4 13 −9 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
วานูวาตู 2–3 เม็กซิโก
Kalo Goal 52'
Wilkins Goal 62'
รายงาน Magaña Goal 10'
Cisneros Goal 25'
Álvarez Goal 90+4'


เยอรมนี 3–2 วานูวาตู
Badu Goal 27'
Reese Goal 32'
Iyoha Goal 50'
รายงาน Kalo Goal 52'77'

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  แซมเบีย (Q) 3 2 0 1 6 4 +2 6 รอบแพ้คัดออก
2  โปรตุเกส (Q) 3 1 1 1 4 4 0 4
3  คอสตาริกา (Q) 3 1 1 1 2 2 0 4
4  อิหร่าน (E) 3 1 0 2 4 6 −2 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(E) ตกรอบ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
แซมเบีย 2–1 โปรตุเกส
Chilufya Goal 51'
F. Sakala Goal 76'
รายงาน Hélder Goal 90+1'

แซมเบีย 4–2 อิหร่าน
F. Sakala Goal 54'
Mwepu Goal 59'
E. Banda Goal 65'
Daka Goal 71'
รายงาน Shekari Goal 7'49' (ลูกโทษ)

คอสตาริกา 1–0 แซมเบีย
Daly Goal 15' รายงาน

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อุรุกวัย 3 2 1 0 3 0 +3 7 รอบแพ้คัดออก
2  อิตาลี 3 1 1 1 4 3 +1 4
3  ญี่ปุ่น 3 1 1 1 4 5 −1 4 เป็นไปได้ในรอบแพ้คัดออก
4  แอฟริกาใต้ 3 0 1 2 1 4 −3 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
แอฟริกาใต้ 1–2 ญี่ปุ่น
Tomiyasu Goal 7' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน Ogawa Goal 48'
Doan Goal 72'
อิตาลี 0–1 อุรุกวัย
รายงาน Amaral Goal 76'


ญี่ปุ่น 2–2 อิตาลี
Doan Goal 22'50' รายงาน Orsolini Goal 3'
Panico Goal 7'

กลุ่ม อี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ฝรั่งเศส 3 3 0 0 9 0 +9 9 รอบแพ้คัดออก
2  นิวซีแลนด์ 3 1 1 1 3 3 0 4
3  ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 6 −3 3 เป็นไปได้ในรอบแพ้คัดออก
4  เวียดนาม 3 0 1 2 0 6 −6 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
ฝรั่งเศส 3–0 ฮอนดูรัส
Augustin Goal 15'
Harit Goal 44'
Terrier Goal 81'
รายงาน
เวียดนาม 0−0 นิวซีแลนด์
รายงาน

ฝรั่งเศส 4−0 เวียดนาม
Thuram Goal 18'
Augustin Goal 22'45'
Poha Goal 52'
รายงาน
นิวซีแลนด์ 3–1 ฮอนดูรัส
Bevan Goal 1'56' (ลูกโทษ)
Ashworth Goal 23'
รายงาน Álvarez Goal 50'
ผู้ชม: 6,074 คน
ผู้ตัดสิน: Diego Haro (เปรู)

กลุ่ม เอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐ 3 1 2 0 5 4 +1 5 รอบแพ้คัดออก
2  เซเนกัล 3 1 1 1 2 1 +1 4
3  ซาอุดีอาระเบีย 3 1 1 1 3 4 −1 4 เป็นไปได้ในรอบแพ้คัดออก
4  เอกวาดอร์ 3 0 2 1 4 5 −1 2
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

เซเนกัล 0−1 สหรัฐ
รายงาน Sargent Goal 34'

ตารางคะแนนทีมอันดับที่สาม[แก้]

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ซี  คอสตาริกา 3 1 1 1 2 2 0 4 รอบแพ้คัดออก
2 ดี  ญี่ปุ่น 3 1 1 1 4 5 −1 4
3 บี  เยอรมนี 3 1 1 1 3 4 −1 4
4 เอฟ  ซาอุดีอาระเบีย 3 1 1 1 3 4 −1 4
5 เอ  อาร์เจนตินา 3 1 0 2 6 5 +1 3
6 อี  ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 6 −3 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก[แก้]

 
Round of 16รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
30 พฤษภาคม — ช็อนอัน
 
 
 เกาหลีใต้1
 
4 มิถุนายน — แทจ็อน
 
 โปรตุเกส3
 
 โปรตุเกส2 (4)
 
31 พฤษภาคม — ซูวอน
 
 อุรุกวัย (ลูกโทษ)2 (5)
 
 อุรุกวัย1
 
8 มิถุนายน — แทจ็อน
 
 ซาอุดีอาระเบีย0
 
 อุรุกวัย1 (3)
 
30 พฤษภาคม — แทจ็อน
 
 เวเนซุเอลา (ลูกโทษ)1 (4)
 
 เวเนซุเอลา
(ต่อเวลา)
1
 
4 มิถุนายน — ช็อนจู
 
 ญี่ปุ่น0
 
 เวเนซุเอลา
(ต่อเวลา)
2
 
1 มิถุนายน — อินช็อน
 
 สหรัฐ1
 
 สหรัฐ6
 
11 มิถุนายน — ซูวอน
 
 นิวซีแลนด์0
 
 เวเนซุเอลา0
 
1 มิถุนายน — ช็อนอัน
 
 อังกฤษ1
 
 ฝรั่งเศส1
 
5 มิถุนายน — ซูวอน
 
 อิตาลี2
 
 อิตาลี
(ต่อเวลา)
3
 
31 พฤษภาคม — ซอกวีโพ
 
 แซมเบีย2
 
 แซมเบีย
(ต่อเวลา)
4
 
8 มิถุนายน — ช็อนจู
 
 เยอรมนี3
 
 อิตาลี1
 
1 มิถุนายน — อินช็อน
 
 อังกฤษ3 รอบชิงอันดับที่สาม
 
 เม็กซิโก1
 
5 มิถุนายน — ช็อนอัน11 มิถุนายน — ซูวอน
 
 เซเนกัล0
 
 เม็กซิโก0 อุรุกวัย0 (1)
 
31 พฤษภาคม — ช็อนจู
 
 อังกฤษ1  อิตาลี (ลูกโทษ)0 (4)
 
 อังกฤษ2
 
 
 คอสตาริกา1
 
การจัดกลุ่มของแมตช์ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย

การแข่งขันที่เฉพาะเจาะจงที่เกี่ยวข้องกับทีมอันดับที่สาม ขึ้นอยู่กับสี่ทีมอันดับที่สามที่ได้เข้าร่วมในรอบ 16 ทีมสุดท้าย:[6]

  การจัดกลุ่มสองคล้องต่อสี่ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]


เกาหลีใต้ 1–3 โปรตุเกส
Lee Sang-heon Goal 81' รายงาน Xadas Goal 10'69'
Bruno Costa Goal 27'


อังกฤษ 2–1 คอสตาริกา
Lookman Goal 35'63' รายงาน Leal Goal 89'


เม็กซิโก 1–0 เซเนกัล
Cisneros Goal 89' รายงาน


สหรัฐ 6–0 นิวซีแลนด์
Sargent Goal 32'
Ebobisse Goal 64'
Lennon Goal 65'
Glad Goal 76'
Trusty Goal 84'
Kunga Goal 90+3'
รายงาน

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]




รอบรองชนะเลิศ[แก้]


อิตาลี 1–3 อังกฤษ
Orsolini Goal 2' รายงาน Solanke Goal 66'88'
Lookman Goal 77'

นัดชิงอันดับที่สาม[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

รางวัล[แก้]

อาดิดาส
ลูกบอลทองคำ
อาดิดาส
ลูกบอลเงิน
อาดิดาส
ลูกบอลทองแดง
อังกฤษ Dominic Solanke อุรุกวัย Federico Valverde เวเนซุเอลา Yangel Herrera
อาดิดาส
รองเท้าทองคำ
อาดิดาส
รองเท้าเงิน
อาดิดาส
รองเท้าทองแดง
อิตาลี Riccardo Orsolini สหรัฐ Josh Sargent ฝรั่งเศส Jean-Kévin Augustin
5 ประตู, 0 แอสซิสต์ 4 ประตู, 1 แอสซิสต์ 4 ประตู, 0 แอสซิสต์
อาดิดาส ถุงมือทองคำ
อังกฤษ Freddie Woodman
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
 เม็กซิโก

อันดับดาวซัลโว[แก้]

5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • อังกฤษ Fikayo Tomori (ในนัดที่พบกับ กินี)
  • อิหร่าน Nima Taheri (ในนัดที่พบกับ โปรตุเกส)
  • ญี่ปุ่น Takehiro Tomiyasu (ในนัดที่พบกับ แอฟริกาใต้)

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "FIFA U-20 World Cup South Korea 2015 – Award". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-23. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "FIFA Executive Committee fully backs resolution on the fight against racism and discrimination". FIFA.com. 28 May 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-12. สืบค้นเมื่อ 2015-06-18.
  3. "Black Country World Cup bid scrapped by FA". Express & Star. 13 November 2013. สืบค้นเมื่อ 19 November 2013.
  4. "SA to host U20 Women's World Cup in 2016" (Press release). South African Football Association. 6 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-08. สืบค้นเมื่อ 25 March 2014.
  5. "Match Schedule FIFA U-20 World Cup Korea Republic 2017" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-03-16. สืบค้นเมื่อ 2017-05-27.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]