ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9241757 สร้างโดย 182.53.238.82 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
'''รัฐประหารในประเทศพม่า''' เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบ[[สังคมนิยม]]และการครอบงำการเมืองของกองทัพพม่า เป็นระยะเวลา 26 ปี ระบบการเมืองที่เป็นผลสืบเนื่องดำเนินมากระทั่งวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 เมื่อกองทัพยึดอำนาจในฐานะ[[สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ]] (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น [[สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ]]) หลัง[[การก่อการกำเริบ 8888]] ทั่วประเทศ รัฐประหาร พ.ศ. 2505 นำโดยพลเอก [[เนวี่น]] และสภาปฏิวัติสังคมนิยม ซึ่งมีสมาชิก 24 คน ในระยะเวลา 12 ปีถัดจากนี้ กระทั่ง พ.ศ. 2517 พม่าปกครองด้วย[[กฎอัยการศึก]] และมีการขยายบทบาทของทหารอย่างสำคัญในเศรษฐกิจ การเมืองและรัฐการพม่า<ref>{{cite journal |last1=Schock |first1=Kurt |year=1999 |title=People Power and Political Opportunities: Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma |journal=Soc. Probs. |publisher= |volume=46 ||pages=358}}</ref> นโยบายและอุดมการณ์ของรัฐบาลหลังรัฐประหารตั้งอยู่บนแนวคิด[[วิถีพม่าสู่สังคมนิยม]] (Burmese Way to Socialism) ซึ่งมีการประกาศต่อสาธารณะหนึ่งเดือนหลังรัฐประหารและเสริมด้วยการจัดตัง[[พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า]]
'''รัฐประหารในประเทศพม่า''' เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบ[[สังคมนิยม]]และการครอบงำการเมืองของกองทัพพม่า เป็นระยะเวลา 26 ปี ระบบการเมืองที่เป็นผลสืบเนื่องดำเนินมากระทั่งวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 เมื่อกองทัพยึดอำนาจในฐานะ[[สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ]] (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น [[สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ]]) หลัง[[การก่อการกำเริบ 8888]] ทั่วประเทศ รัฐประหาร พ.ศ. 2505 นำโดยพลเอก [[เนวี่น]] และสภาปฏิวัติสังคมนิยม ซึ่งมีสมาชิก 24 คน ในระยะเวลา 12 ปีถัดจากนี้ กระทั่ง พ.ศ. 2517 พม่าปกครองด้วย[[กฎอัยการศึก]] และมีการขยายบทบาทของทหารอย่างสำคัญในเศรษฐกิจ การเมืองและรัฐการพม่า<ref>{{cite journal |last1=Schock |first1=Kurt |year=1999 |title=People Power and Political Opportunities: Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma |journal=Soc. Probs. |publisher= |volume=46 ||pages=358}}</ref> นโยบายและอุดมการณ์ของรัฐบาลหลังรัฐประหารตั้งอยู่บนแนวคิด[[วิถีพม่าสู่สังคมนิยม]] (Burmese Way to Socialism) ซึ่งมีการประกาศต่อสาธารณะหนึ่งเดือนหลังรัฐประหารและเสริมด้วยการจัดตัง[[พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า]]

== ภูมิหลัง ==
== ภูมิหลัง ==
[[ไฟล์:David Ben Gurion - General Ne Win PM of Burma 1959.jpg|thumbnail|left|พลเอก เนวี่น (ขวา) ผู้นำในการก่อรัฐประหาร]]
[[ไฟล์:David Ben Gurion - General Ne Win PM of Burma 1959.jpg|thumbnail|left|พลเอก เนวี่น (ขวา) ผู้นำในการก่อรัฐประหาร]]
หลังจากพม่าได้รับเอกราช มีความตึงเครียดทางการทหารและการลุกฮือของชนกลุ่มน้อย ใน พ.ศ. 2491 เนวินขึ้นมามีอำนาจในกองทัพ ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 เนวินได้เป็นผู้บัญชาการทหารและเข้าควบคุมทหารทั้งหมดแทนนายพล[[สมิธ ดุน]]ที่เป็นชาวกะเหรี่ยง ทำให้เนวินได้จัดระเบียบกองทัพใหม่ ต่อมา [[อู้นุ]]ได้ร้องขอให้เนวินเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาลเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังจากที่สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์แตกออกเป็นสองส่วน และอู้นุเกือบไม่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐสภา เนวินได้ฟื้นฟูกฎระเบียบใหม่ในระหว่างที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล การเลือกตั้งใหม่ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้นอู้นุเป็นฝ่ายชนะ และได้จัดตั้งรัฐบาลเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2503
หลังจากพม่าได้รับเอกราช มีความตึงเครียดทางการทหารและการลุกฮือของชนกลุ่มน้อย ใน พ.ศ. 2491 เนวินขึ้นมามีอำนาจในกองทัพ ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 เนวินได้เป็นผู้บัญชาการทหารและเข้าควบคุมทหารทั้งหมดแทนนายพล[[สมิท ดุน]]ที่เป็นชาวกะเหรี่ยง ทำให้เนวินได้จัดระเบียบกองทัพใหม่ ต่อมา [[อู้นุ]]ได้ร้องขอให้เนวินเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาลเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังจากที่สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์แตกออกเป็นสองส่วน และอู้นุเกือบไม่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐสภา เนวินได้ฟื้นฟูกฎระเบียบใหม่ในระหว่างที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล การเลือกตั้งใหม่ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้นอู้นุเป็นฝ่ายชนะ และได้จัดตั้งรัฐบาลเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2503


== รัฐประหาร ==
== รัฐประหาร ==
ต่อมาเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เนวินขึ้นสู่อำนาจอีกครั้งโดยการก่อรัฐประหาร ตัวเขาเองมีสถานะเป็นประมุขรัฐ ในฐานะประธานสภาปฏิวัติสหภาพ และเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เขาได้จับกุมอู้นุ [[เซา ส่วย เทียก]]และคนอื่นๆอีกหลายคน และประกาศจัดตั้งรัฐสังคมนิยม เซาเมียะ เทียก บุตรชายของเซา ส่วย เทียกถูกยิงเสียชีวิตหลังการวิจารณ์รัฐประหาร [[เจ้าฟ้าจาแสง]]หายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากหยุดที่จุดตรวจใกล้[[ตองจี]]<ref name="ms">{{cite book|first=Martin|last= Smith|year=1991|title=Burma — Insurgency and the Politics of Ethnicity|publisher=Zed Books|location=London and New Jersey|pages=}}</ref>
ต่อมาเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เนวินขึ้นสู่อำนาจอีกครั้งโดยการก่อรัฐประหาร ตัวเขาเองมีสถานะเป็นประมุขรัฐ ในฐานะประธานสภาปฏิวัติสหภาพ และเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เขาได้จับกุมอู้นุ [[เจ้าส่วยแต้ก]]และคนอื่นๆอีกหลายคน และประกาศจัดตั้งรัฐสังคมนิยม เซาเมียะ เทียก บุตรชายของเจ้าส่วยแต้กถูกยิงเสียชีวิตหลังการวิจารณ์รัฐประหาร [[เจ้าฟ้าจาแสง]]หายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากหยุดที่จุดตรวจใกล้[[ตองจี]]<ref name="ms">{{cite book|first=Martin|last= Smith|year=1991|title=Burma — Insurgency and the Politics of Ethnicity|publisher=Zed Books|location=London and New Jersey|pages=}}</ref>


หลังจากมีการลุกฮือที่[[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]]ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ได้มีการส่งทหารเข้าไปจัดระเบียบใหม่ มีการเผาผู้ประท้วงและทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา<ref name="Boudreau">Boudreau, Vincent (2004) ''Resisting Dictatorship: Repression and Protest in [[Southeast Asia]]'' [[Cambridge University Press]], [[Cambridge]], [[United Kingdom|U.K.]], [http://books.google.com/books?id=ZpoCNHhUe7QC&pg=PA37 pp. 37-39, 50-51], ISBN 0-521-83989-0</ref> หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยทั่วประเทศถูกสั่งปิดเป็นเวลา 2 ปี จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2531 อีก 26 ปีต่อมา เนวินปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา โดยกล่าวว่าเป็นคำสั่งของ[[อ่องจี]]
หลังจากมีการลุกฮือที่[[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]]ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ได้มีการส่งทหารเข้าไปจัดระเบียบใหม่ มีการเผาผู้ประท้วงและทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา<ref name="Boudreau">Boudreau, Vincent (2004) ''Resisting Dictatorship: Repression and Protest in [[Southeast Asia]]'' [[Cambridge University Press]], [[Cambridge]], [[United Kingdom|U.K.]], [http://books.google.com/books?id=ZpoCNHhUe7QC&pg=PA37 pp. 37-39, 50-51], ISBN 0-521-83989-0</ref> หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยทั่วประเทศถูกสั่งปิดเป็นเวลา 2 ปี จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2531 อีก 26 ปีต่อมา เนวินปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา โดยกล่าวว่าเป็นคำสั่งของ[[อองจี้]]
== หลังจากนั้นและผลกระทบ ==
== หลังจากนั้นและผลกระทบ ==
รัฐประหารได้เปลี่ยนพม่าจากสหภาพที่มีหลายพรรคการเมืองไปเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็นของรัฐ บริษัทต่างชาติต่างถอนตัวออกไป และปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึกจนถึง พ.ศ. 2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่าได้ใช้ธงชาติที่มีสัญลักษณ์ของสังคมนิยม ผลของรัฐประหารทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็น[[ประเทศด้อยพัฒนา]]ใน พ.ศ. 2530
รัฐประหารได้เปลี่ยนพม่าจากสหภาพที่มีหลายพรรคการเมืองไปเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็นของรัฐ บริษัทต่างชาติต่างถอนตัวออกไป และปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึกจนถึง พ.ศ. 2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่าได้ใช้ธงชาติที่มีสัญลักษณ์ของสังคมนิยม ผลของรัฐประหารทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็น[[ประเทศด้อยพัฒนา]]ใน พ.ศ. 2530

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:18, 8 มีนาคม 2564

รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า
วันที่2 มีนาคม ค.ศ. 1962
สถานที่
ผล สาธารณรัฐระบบรัฐสภาถูกล้มเลิก, ก่อตั้งระบอบสังคมนิยมทหาร
คู่สงคราม
กองทัพพม่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เนวี่น
(ประธานสภาปฏิวัติ)
วี่น-มอง (ประธานาธิบดีพม่า)
อู้นุ
(นายกรัฐมนตรีพม่า)
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
กองกำลังทหารพม่า ตำรวจ. ที่เหลือเป็นกลาง
ความสูญเสีย
1 หรือ 2 คน

รัฐประหารในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบสังคมนิยมและการครอบงำการเมืองของกองทัพพม่า เป็นระยะเวลา 26 ปี ระบบการเมืองที่เป็นผลสืบเนื่องดำเนินมากระทั่งวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 เมื่อกองทัพยึดอำนาจในฐานะสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ) หลังการก่อการกำเริบ 8888 ทั่วประเทศ รัฐประหาร พ.ศ. 2505 นำโดยพลเอก เนวี่น และสภาปฏิวัติสังคมนิยม ซึ่งมีสมาชิก 24 คน ในระยะเวลา 12 ปีถัดจากนี้ กระทั่ง พ.ศ. 2517 พม่าปกครองด้วยกฎอัยการศึก และมีการขยายบทบาทของทหารอย่างสำคัญในเศรษฐกิจ การเมืองและรัฐการพม่า[1] นโยบายและอุดมการณ์ของรัฐบาลหลังรัฐประหารตั้งอยู่บนแนวคิดวิถีพม่าสู่สังคมนิยม (Burmese Way to Socialism) ซึ่งมีการประกาศต่อสาธารณะหนึ่งเดือนหลังรัฐประหารและเสริมด้วยการจัดตังพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า

ภูมิหลัง

พลเอก เนวี่น (ขวา) ผู้นำในการก่อรัฐประหาร

หลังจากพม่าได้รับเอกราช มีความตึงเครียดทางการทหารและการลุกฮือของชนกลุ่มน้อย ใน พ.ศ. 2491 เนวินขึ้นมามีอำนาจในกองทัพ ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 เนวินได้เป็นผู้บัญชาการทหารและเข้าควบคุมทหารทั้งหมดแทนนายพลสมิท ดุนที่เป็นชาวกะเหรี่ยง ทำให้เนวินได้จัดระเบียบกองทัพใหม่ ต่อมา อู้นุได้ร้องขอให้เนวินเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาลเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังจากที่สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์แตกออกเป็นสองส่วน และอู้นุเกือบไม่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐสภา เนวินได้ฟื้นฟูกฎระเบียบใหม่ในระหว่างที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล การเลือกตั้งใหม่ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้นอู้นุเป็นฝ่ายชนะ และได้จัดตั้งรัฐบาลเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2503

รัฐประหาร

ต่อมาเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เนวินขึ้นสู่อำนาจอีกครั้งโดยการก่อรัฐประหาร ตัวเขาเองมีสถานะเป็นประมุขรัฐ ในฐานะประธานสภาปฏิวัติสหภาพ และเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เขาได้จับกุมอู้นุ เจ้าส่วยแต้กและคนอื่นๆอีกหลายคน และประกาศจัดตั้งรัฐสังคมนิยม เซาเมียะ เทียก บุตรชายของเจ้าส่วยแต้กถูกยิงเสียชีวิตหลังการวิจารณ์รัฐประหาร เจ้าฟ้าจาแสงหายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากหยุดที่จุดตรวจใกล้ตองจี[2]

หลังจากมีการลุกฮือที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้งในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ได้มีการส่งทหารเข้าไปจัดระเบียบใหม่ มีการเผาผู้ประท้วงและทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา[3] หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยทั่วประเทศถูกสั่งปิดเป็นเวลา 2 ปี จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2531 อีก 26 ปีต่อมา เนวินปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา โดยกล่าวว่าเป็นคำสั่งของอองจี้

หลังจากนั้นและผลกระทบ

รัฐประหารได้เปลี่ยนพม่าจากสหภาพที่มีหลายพรรคการเมืองไปเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็นของรัฐ บริษัทต่างชาติต่างถอนตัวออกไป และปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึกจนถึง พ.ศ. 2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่าได้ใช้ธงชาติที่มีสัญลักษณ์ของสังคมนิยม ผลของรัฐประหารทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็นประเทศด้อยพัฒนาใน พ.ศ. 2530

อ้างอิง

  1. Schock, Kurt (1999). "People Power and Political Opportunities: Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma". Soc. Probs. 46: 358. {{cite journal}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help)
  2. Smith, Martin (1991). Burma — Insurgency and the Politics of Ethnicity. London and New Jersey: Zed Books.
  3. Boudreau, Vincent (2004) Resisting Dictatorship: Repression and Protest in Southeast Asia Cambridge University Press, Cambridge, U.K., pp. 37-39, 50-51, ISBN 0-521-83989-0