เนวี่น
หน้าตา
เนวี่น | |
---|---|
နေဝင်း | |
เนวี่น เมื่อ ค.ศ. 1959 | |
ประธานาธิบดีพม่า คนที่ 4 | |
ดำรงตำแหน่ง 2 มีนาคม ค.ศ. 1974 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1981 | |
ก่อนหน้า | วี่น-มอง (ค.ศ. 1962) |
ถัดไป | ซ่านยุ |
นายกรัฐมนตรีพม่า | |
ดำรงตำแหน่ง 29 ตุลาคม ค.ศ. 1958 – 4 เมษายน ค.ศ. 1960 | |
ประธานาธิบดี | วี่น-มอง |
ก่อนหน้า | อู้นุ |
ถัดไป | อู้นุ |
ดำรงตำแหน่ง 2 มีนาคม ค.ศ. 1962 – 2 มีนาคม ค.ศ. 1974 | |
ก่อนหน้า | อู้นุ |
ถัดไป | เซนวี่น |
ประธานพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า | |
ดำรงตำแหน่ง 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1962 – 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 | |
ก่อนหน้า | สถาปนาตำแหน่ง |
ถัดไป | เซน-ลวีน |
ประธานประธานสภาปฏิวัติสหภาพ | |
ดำรงตำแหน่ง 2 มีนาคม ค.ศ. 1962 – 2 มีนาคม ค.ศ. 1974 | |
ก่อนหน้า | สถาปนาตำแหน่ง |
ถัดไป | ยกเลิกตำแหน่ง |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ชูมอง[3] 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1911[4] จังหวัดพะโค พม่าตอนล่าง บริติชอินเดีย (ปัจจุบันคือประเทศพม่า) |
เสียชีวิต | 5 ธันวาคม ค.ศ. 2002[5] ย่างกุ้ง สหภาพเมียนมา | (92 ปี)
ที่ไว้ศพ | อัฐิถูกโปรยในแม่น้ำย่างกุ้ง |
เชื้อชาติ | พม่า |
พรรคการเมือง | พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า (BSPP) |
คู่สมรส | 5 คน รวมถึงยะดะหน่า นะ-เม |
บุตร | 6 คน |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง |
อาชีพ |
|
ลายมือชื่อ | |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | สหภาพพม่า |
สังกัด | กองทัพบกพม่า |
ประจำการ | ค.ศ. 1931–1974 |
ยศ | พลเอก |
พลเอก เนวี่น (พม่า: နေဝင်း, ออกเสียง: [nè wɪ́ɰ̃]; เกิด 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1910 หรือ 14 หรือ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1911 – 5 ธันวาคม ค.ศ. 2002) เป็นผู้นำเผด็จการของรัฐบาลทหารของพม่า ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีพม่าอย่างยาวนานถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1962 ถึง ค.ศ. 1974 ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ของพม่าภายหลังการรัฐประหารรัฐบาลอู้นุเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1962
เนวี่นลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 หลังการรัฐประหารที่นำโดยพลเอกอาวุโส ซอมอง ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2002 (อายุ 92 ปี)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2506 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (ร.ม.ภ.)[6]
- พ.ศ. 2503 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Letter from Premier Zhou Enlai to His Excellency Ne Win
- ↑ General Ne Win, the first military general who led the 1962 coup, was posthumously named Agga Maha Thray Sithu, the second-highest honor. Former military leader Than Shwe, who picked Min Aung Hlaing as his successor as commander-in-chief, was given the same title.
- ↑ "U Ne Win". Encyclopædia Britannica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 April 2018. สืบค้นเมื่อ 10 April 2018.
- ↑ "Ne Win (Shu Maung), Burmese military strongman, born May 24 1911; died December 5 2002".
- ↑ Pace, Eric (6 December 2002). "Ne Win, Ex-Burmese Military Strongman, Dies at 81". The New York Times.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชมิตราภรณ์, เล่ม 80 ตอนที่ 4 หน้า 43, 8 มการาคม 2506
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชมิตราภรณ์, เล่ม 77 ตอนที่ 28 หน้า 1169, 5 เมษายน 2503