ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลมสุริยะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alexbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: be:Сонечны вецер
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ลมสุริยะ''' ({{lang-en|solar wind}}) คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจากชั้นบรรยากาศชั้นนอกของ[[ดวงอาทิตย์]]สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[อิเล็กตรอน]]และ[[โปรตอน]] ซึ่งมีพลังงานเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 10-100 [[อิเล็กตรอนโวลต์|eV]] กระแสอนุภาคเหล่านี้มี[[อุณหภูมิ]]และความเร็วที่แตกต่างกันออกไปตามช่วงเวลา กระแสอนุภาคจะหลุดออกพ้นจาก[[แรงโน้มถ่วง]]ของดวงอาทิตย์ได้เนื่องจากมี[[พลังงานจลน์]]และอุณหภูมิ[[โคโรนา]]ที่สูงมาก
{{รอการตรวจสอบ}}

'''ลมสุริยะ (solar wind)''' คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจาก[[ดาวฤกษ์]]สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[อิเล็กตรอน]]และ[[โปรตอน]] อนุภาคเหล่านี้มีความเร็วต่ำมากในขณะที่ยังอยู่ภายใน[[คอโรนา]]ชั้นใน แต่จะถูกสนามแม่เหล็กเร่งความเร็วให้สูงขึ้นมาก อาจเร็วถึง 900 กิโลเมตรต่อวินาที ความหนาแน่นของอนุภาคจากลมสุริยะจะลดน้อยลง ในขณะที่ระยะห่างจากดาวฤกษ์มากขึ้น ดังเช่นในกรณีของ[[ดวงอาทิตย์]] ความหนาแน่นลมสุริยะบริเวณวงโคจรของโลกมีประมาณ 8 อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
ลมสุริยะทำให้เกิด[[เฮลิโอสเฟียร์]] คือฟองอากาศขนาดใหญ่ใน[[มวลสารระหว่างดาว]]ที่ครอบคลุมระบบสุริยะเอาไว้ ลมสุริยะยังทำให้เกิดปรากฏการณ์อื่นที่เกี่ยวข้องได้แก่ [[พายุแม่เหล็กโลก]] (geomagnetic storm) ซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้ไฟฟ้าบนโลกใช้การไม่ได้บางครั้งบางคราว, [[ออโรรา]] (หรือปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้) และหาง[[พลาสมา]]ของ[[ดาวหาง]]ที่จะชี้ออกไปจากดวงอาทิตย์เสมอ

==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.suntrek.org Sun|trek website] แหล่งข้อมูลทางการศึกษาสำหรับครูและนักเรียน เกี่ยวกับดวงอาทิตย์และผลกระทบที่ดวงอาทิตย์มีต่อโลก
*[http://clusterlaunch.esa.int/science-e/www/object/index.cfm?fobjectid=45273 ปฏิบัติการคลัสเตอร์ แสดงให้เห็นว่าลมสุริยะมีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างไร]


{{ดาวฤกษ์}}
{{ดาวฤกษ์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:37, 26 กรกฎาคม 2553

ลมสุริยะ (อังกฤษ: solar wind) คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจากชั้นบรรยากาศชั้นนอกของดวงอาทิตย์สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและโปรตอน ซึ่งมีพลังงานเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 10-100 eV กระแสอนุภาคเหล่านี้มีอุณหภูมิและความเร็วที่แตกต่างกันออกไปตามช่วงเวลา กระแสอนุภาคจะหลุดออกพ้นจากแรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ได้เนื่องจากมีพลังงานจลน์และอุณหภูมิโคโรนาที่สูงมาก

ลมสุริยะทำให้เกิดเฮลิโอสเฟียร์ คือฟองอากาศขนาดใหญ่ในมวลสารระหว่างดาวที่ครอบคลุมระบบสุริยะเอาไว้ ลมสุริยะยังทำให้เกิดปรากฏการณ์อื่นที่เกี่ยวข้องได้แก่ พายุแม่เหล็กโลก (geomagnetic storm) ซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้ไฟฟ้าบนโลกใช้การไม่ได้บางครั้งบางคราว, ออโรรา (หรือปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้) และหางพลาสมาของดาวหางที่จะชี้ออกไปจากดวงอาทิตย์เสมอ

แหล่งข้อมูลอื่น