ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บุนนาค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = บุนนาค
| image = MesuaFerrea_IronWood.jpg
| image_width =
| image_caption =
| regnum = [[Plant]]ae
| divisio = [[Magnoliophyta]]
| classis = [[Magnoliopsida]]
| ordo = [[Malpighiales]]
| familia = [[Clusiaceae]]
| subfamilia = [[Kielmeyeroideae]]
| tribus = [[Calophylleae]]
| genus = ''[[Mesua]]''
| species = '''''M. ferrea'''''
| binomial = ''Mesua ferrea''
| binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
| synonyms =
*''Mesua coromandelina'' <small>[[Robert Wight|Wight]]</small>
*''Mesua nagassarium'' <small>([[Burm.f.]]) [[Kosterm.]]</small>
*''Mesua pedunculata'' <small>[[Robert Wight|Wight]]</small>
*''Mesua roxburghii'' <small>[[Robert Wight|Wight]]</small>
*''Mesua sclerophylla'' <small>[[Thw.]]</small>
*''Mesua speciosa'' <small>[[Choisy]]</small>
*''Mesua stylosa''}}


บุนนาค
บุนนาค

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:46, 12 กรกฎาคม 2552

บุนนาค
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Malpighiales
วงศ์: Clusiaceae
วงศ์ย่อย: Kielmeyeroideae
เผ่า: Calophylleae
สกุล: Mesua
สปีชีส์: M.  ferrea
ชื่อทวินาม
Mesua ferrea
L.
ชื่อพ้อง

บุนนาค Mesua Ferrea L. ชื่ออื่น สารภีดอย วงศ์ GUTTIFERAE

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ พบได้ในป่าดิบชื้น ตามริมห้วย ลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 6-700 เมตร ต้นสูงประมาณ 25-30 เมตร เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 2-3 ซ.ม. ยาว 7-12 ซ.ม.ใบอ่อนจะมีสีแดง ดอกสีขาวหอมเย็น ออก เป็นกระจุก 2-1 ดอก กลีบดอกรูปไข่กลับ ปลายกลีบย่นเล็กน้อย มีเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.5 ซม.กลีบเลี้ยงกลมโค้งขนาด 1.5 ซ.ม.

เป็นไม้วงศ์เดียวกับ ต้นชะมวงหรือส้มป่อง มะดะหรือมังคุดป่า ต้นติ้วแดงและ ต้นติ้วขน จัดกลุ่มอยู่ในไม้พวก Iron wood คือเนื้อแข็ง ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศ ต้นบุนนาคสามารถพบได้ในอินเดียและศรีลังกา


ประโยชน์

  • เนื้อไม้ - เป็นไม้เนื้อแข็งใช้ทำหมอนรถไฟ การก่อสร้าง ด้านร่ม เป็นต้น
  • ดอกแห้ง - เป็นยาฝาดสมาน ขับลมแก้ลมในไส้ บำรุงธาตุ บำรุงโลหิต บำรุงหัวใจ
  • เมล็ด - มีน้ำมันที่กลั่นใช้ผสมเครื่องสำอาง และอื่น ๆ
  • ดอกสด - มีน้ำมันหอมระเหย ปัจจุบันนำมาปลูกเป็นไม้ประดับกันอย่างแพร่หลาย

เกร็ดความรู้

ข้อมูลอ้างอิง Trees in the Garden by the Botanical Garden Organization office of Prim Minister. Printed by Sanga Sabhasri Research Foundation.